Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » Checklist ก่อนผ่าตัดลดอัตราตาย
  • ขนาดตัวอักษร  Normal size text | Increase text size by 10% | Increase text size by 20% | Increase text size by 30%

Checklist ก่อนผ่าตัดลดอัตราตาย

โพสโดย somsak เมื่อ 1 มีนาคม 2552 00:00

Haynes AB, et al. A surgical dsafety checklist to reduce morbidity and mortality in a global population N Engl J Med 2009; 360;491-9.
 

การผ่าตัดเป็นวิธีการรักษาที่สำคัญในหลายโรค ในแต่ละปีประมาณว่าทั่วโลกมีการผ่าตัดไม่ต่ำกว่า 234 ล้านครั้ง (มากกว่าจำนวนเด็กเกิดในแต่ละปี) ผลข้างเคียงจากการผ่าตัดพบไม่น้อย ซึ่งส่วนใหญ่ป้องกันได้ นักวิจัยที่ Harvard ทดลองใช้ แบบ checklist ซึ่งมีคำถาม 19 ข้อ ตรวจสอบความปลอดภัยก่อนการผ่าตัด การทดลองนี้ทำใน โรงพยาบาล 8 แห่ง ของ 8 ประเทศ ที่มีสถานะทางเศรษฐกิจแตกต่างกัน (แคนาดา, อินเดีย, สหรัฐอเมริกา, จอร์แดน, นิวซี-แลนด์, ฟิลิปปินส์ แทนซาเนีย และอังกฤษ) งานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Safe Surgery Saves Lives Program ขององค์การอนามัยโลก.


การศึกษาเป็นแบบ before and after แต่ละ โรงพยาบาลมีการสำรวจเก็บข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการผ่าตัดและผลการผ่าตัด ที่ไม่เกี่ยวกับศัลยกรรมหัวใจ 3,733 ราย ที่มีอายุ 16 ปีขึ้นไป หลังจากนั้นมีการใช้แบบ safety checklist ตรวจสอบขั้นตอนก่อน และหลังผ่าตัด ตลอดจนผลการผ่าตัด ของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด จำนวน 3,955 ราย จากนั้นวัด อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน อัตราตาย ภายใน 30 วันหลังการผ่าตัดในขณะที่ผู้ป่วยยังอยู่ในโรงพยาบาล เปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังใช้ checklist.
ผลการศึกษา พบว่าอัตราตายลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากเดิมร้อยละ 1.5 ก่อนมีการใช้ checklist เป็นร้อยละ 0.8 หลังมีการใช้ checklist และอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลงจากร้อยละ 11.0 เป็นร้อยละ 7.0.


สรุป การใช้ checklist สัมพันธ์กับการลดลงของการตายและภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด.
สำหรับ 19 ประเด็น ที่อยู่ใน checklist นี้ แบ่งเป็น 3 ช่วงตามขั้นตอนที่สำคัญโดยทีมผ่าตัด พยาบาล หรือแพทย์ที่เกี่ยวข้องกล่าวเป็นวาจาในประเด็นต่อไปนี้
1. ก่อนเริ่มดมยา (พยาบาลหรือวิสัญญีถามยืนยันเกี่ยวกับ ชื่อ ตำแหน่งผ่าตัด ใบยินยอมของผู้ป่วย ความเสี่ยงต่อการเสียเลือด เป็นต้น ).

2. ก่อนลงมีด (มีการบอกชื่อและหน้าที่ของ ทีมผ่าตัดทุกคน ความพร้อมของเครื่องมือ เลือดฯลฯ).

3. ก่อนเข็นผู้ป่วยออกจากห้องผ่าตัด (นับจำนวน เข็ม ผ้าซับ ครบถ้วน ฯลฯ) การศึกษานี้ประเมินเครื่องมือที่ช่วยการพัฒนาคุณภาพบริการ ผ่าตัด อย่างไรก็ตาม ข้อควรระวังคือการศึกษานี้เป็นแบบ before and after อาจมีความคลาดเคลื่อนได้.

 

วิชัย เอกพลากร พ.บ., Ph.D.,รองศาสตราจารย์, ศูนย์เวชศาสตร์ชุมชน
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี , มหาวิทยาลัยมหิดล

 

 

ป้ายคำ:
  • คุยสุขภาพ
  • เก็บสาระจากวารสารต่างประเทศ
  • รศ.นพ.วิชัย เอกพลากร
  • อ่าน 3,341 ครั้ง
  • พิมพ์หน้านี้พิมพ์หน้านี้

ข้อมูลสื่อ

291-018
วารสารคลินิก 291
มีนาคม 2552
เก็บสาระจากวารสารต่างประเทศ
รศ.นพ.วิชัย เอกพลากร
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ทั้งหมด
  • การแพทย์ทางเลือก
    • แพทย์แผนไทย
      • กดจุด
      • นวดไทย
    • แพทย์แผนจีน
  • ดูแลสุขภาพ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
    • การปฐมพยาบาล
    • การรักษาเบื้องต้น
    • การใช้ยาสมุนไพร
    • คู่มือดูแลสุขภาพ
    • ยาและวิธีใช้
    • ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
      • คำนวณค่า BMI
      • วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
      • แนะนำการตรวจสุขภาพประจำปี
    • คุยสุขภาพ
      • กรณีศึกษา
      • ถามตอบปัญหาสุขภาพ
  • สุขภาพทางเพศและครอบครัว
    • การดูแลบุตร
    • แม่และเด็ก
    • การตั้งครรภ์
    • เรียนรู้เรื่องเพศและการวางแผนครอบครัว
  • สร้างเสริมสุขภาพ 3 อ. ​และป้องกันโรค
    • อาหาร
      • อาหาร 5 หมู่
      • อาหารของผู้่ป่วยโรคเรื้อรัง
        • ความดันสูง
        • หัวใจ
        • เกาต์
        • เบาหวาน
      • อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
      • อาหารป้องกันมะเร็ง
      • อาหารสมุนไพร
    • ออกกำลังกาย
      • วิ่ง เดิน ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ แอร์โรบิค แอร์โรบอคซิ่ง รำกระบอง ไทเก็ก ชี่กง โยคะ
    • อารมณ์
      • การทำสมาธิ
      • การพักผ่อน
      • การพัฒนา EQ
      • จิตอาสา/ ฉือจี้
  • พฤติกรรมอันตราย
    • พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
    • อนามัยสิ่งแวดล้อม
    • อิริยาบถ
  • โรคและอาการ
    • โรคเรื้อรัง
      • กลุ่มอาการเมตาโบลิค
      • ความดันโลหิตสูง
      • ถุงลมปอดโป่งพอง
      • มะเร็ง
      • อัมพฤกษ์ อัมพาต
      • เบาหวาน
      • โรคข้อ/เกาต์
      • โรคทางจิตเวช เครียด หวาดระแวง
      • โรคหวัด ภูมิแพ้
      • โรคหัวใจ
      • โรคหืด
      • ไขมันในเลือดสูง/ผิดปกติ
      • ไตวาย
    • โรคตามระบบ
      • ระบบทางเดินอาหาร
      • โรคจากอุบัติเหตุ สารพิษ และสัตว์พิษ
      • โรคช่องปากและฟัน
      • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
      • โรคติดเชื้อ
      • โรคผิวหนัง
      • โรคพยาธิ
      • โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
      • โรคระบบต่อมไร้ท่อ
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศชาย
      • โรคระบบทางอวัยวะเพศหญิง
      • โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
      • โรคระบบทางเดินหายใจ
      • โรคระบบประสาทและสมอง
      • โรคระบบไหลเวียนโลหิต
      • โรคหู ตา คอ จมูก
    • โรคจากการทำงาน
      • พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว)
      • โรคจากฝุ่นและสารเคมีในโรงงาน
      • โรคจากสัตว์ เช่น ฉี่หนู
      • โรคจากอริยาบทที่ผิดสุขลักษณะ
      • โรคเส้นเอ็นอักเสบ/ นิ้วล็อค
  • ทันกระแสสุขภาพ
  • คลังความรู้สื่อสังคมออนไลน์
  • อื่น ๆ

ได้รับความนิยม

  • นม
  • ถั่วพู
  • คนท้อง
  • ธาลัสซีเมีย
  • ผู้สูงอายุ
  • ผักพื้นบ้าน
  • สมุนไพร

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa