พิษภัยจากสารเคมี (ยาฆ่าเมลง/ สารตะกั่ว) (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ปี พ.ศ. 2551 ที่กำลังจะผ่านพ้นไป อาจกล่าวได้ว่าเป็นปีที่ค่อนข้างเศร้า ทั้งการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ การสูญเสีย "ปู่เย็น" ภัยธรรมชาติหลากหลายนำมาซึ่งการสูญบ้านเรือนทรัพย์สิน ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    หนึ่งทศวรรษ " อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์"อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับนี้เป็นฉบับขึ้นปีที่ 11 ของผู้เขียน ตลอดระยะ เวลา 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับความเสี่ยงและการเจ็บป่วย ด้วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม หลากหลายประเด็น โดยได้ข้อมูลจากประสบการณ์การทำงานในประเทศไทยและการศึกษาดูงานต่างในประเทศ โดยไม่เคยขาดแม้แต่ฉบับเดียว. ...
  • วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    14. ภัยพิบัติสารเคมีภัยพิบัติสารเคมี (chemical disasters) ในที่นี้ หมายถึง ภาวะที่มีผู้บาดเจ็บล้มตาย เป็นจำนวนมากจากสารเคมีหรือสารพิษ (hazardous materials, HazMat) ซึ่งอาจเกิดจาก1. ภัยพิบัติตามธรรมชาติ เช่น สารพิษหรือเถ้าถ่านและควันพิษจากภูเขาไฟระเบิด หรือไฟป่า การกินเห็ดพิษ หน่อไม้ปี๊บ อาหารกระป๋อง ฯลฯ ที่มีสารพิษอยู่ เช่น กรณีหน่อไม้ปี๊บเป็นพิษที่จังหวัดน่าน จนมีผู้ป่วยกว่า 100 คน ...
  • วารสารคลินิก 270 มิถุนายน 2550
    ช่วงต้นปีพ.ศ. 2550 มีการนำเสนอข่าวเกี่ยวกับมลภาวะบริเวณรอบนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยองอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเด็นการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งของประชาชนที่อาศัยโดยรอบเขตนิคมฯ และในที่สุดก็กลายเป็นประเด็น "ระดับชาติ" เป็นผลให้รองนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจ 2 ชุด ชุดหนึ่งมีภารกิจในการดำเนินการแก้ไขปัญหาการปนเปื้อนของสารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรมสู่สิ่งแวดล้อม ...
  • วารสารคลินิก 267 มีนาคม 2550
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์สองฉบับแรกของปี ได้นำเสนอประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยชายไทย คนหนึ่งซึ่งไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่งด้วยอาการสำคัญ คือ ปวดท้องมากมาเป็นเวลา 1 วัน ในที่สุดอายุรแพทย์ก็วินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยมีอาการพิษตะกั่วเฉียบพลันและได้ให้ยาขับตะกั่วจนผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นและกลับบ้านได้หลังเข้ารับการรักษาตัว 12 วัน. บทความตอนนี้ จะได้กล่าวถึงบทบาทของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ ...
  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับต้อนรับวันขึ้นปีหมูใหม่ ได้นำเสนอประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยชายไทยคนหนึ่งซึ่งไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลจังหวัดแห่งหนึ่งด้วยอาการสำคัญ คือ ปวดท้องมากมาเป็นเวลา 1 วัน. สำหรับฉบับต้อนรับวันแห่งความรักปีหมูนี้ จะได้กล่าวถึงการดูแลรักษาผู้ป่วยรายนี้ต่อไป.ความเดิมเวลาประมาณ 1.00 น. กลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ชายไทย อายุ 42 ปี ไปที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    หลังจากที่ได้นำเสนอบทความเกี่ยวกับโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมมาหลายตอน ฉบับนี้ ”อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์"  ก็จะได้กล่าวถึงโรคกลุ่มสุดท้ายในบรรดา 10 กลุ่มโรค ที่สำนักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค ได้กำหนดให้มีการ " รายงาน"  โรคใน กรณีที่แพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุขตรวจพบหรือสงสัย นั่นคือ ...
  • วารสารคลินิก 259 กรกฎาคม 2549
    ก่อนปี พ.ศ. 2544 กองระบาดวิทยา (ในขณะนั้น1) ได้กำหนดให้มีการรายงานโรคพิษยาฆ่าแมลงในรายงาน (รง.) 506 โดยถือเป็นโรคจากการประกอบอาชีพประเภทหนึ่งและเมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานดังกล่าว มักพบเสมอว่าเป็นโรคที่มีจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดในบรรดาโรคจากการประกอบอาชีพ 7 ประเภทที่กำหนดให้รายงาน เช่น ในปี พ.ศ. 2547 มีผู้ป่วยด้วยพิษยาฆ่าแมลงกว่า 2,000 ราย (ร้อยละ 55 จากการรายงานทั้งหมด 4,252 รายทั่วประเทศ) ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ทีมงานพื้นที่กำลังวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพให้ละเอียดมากขึ้น เพื่อให้สามารถวางแนวทางการดำเนินการต่อไปทั้งนี้ จะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับการปรับสภาพเตาเพื่อลดควันพิษรวมทั้งการทำความเข้าใจกับชาวบ้านด้านความเสี่ยงต่อสุขภาพด้วยยกตัวอย่างกรณีเหตุการณ์ด้านความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมาหลายแห่ง ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นผลกระทบจากความต้องการพลังงานและภาคอุตสาหกรรม. ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    ผู้เขียนได้ยกตัวอย่างกรณีเหตุการณ์ด้านความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมาหลายแห่งแล้ว ตั้งแต่ปัญหาแคดเมียมที่อำเภอแม่สอด เหมืองทองที่อำเภอวังทรายพูน โรงไฟฟ้าที่อำเภอแม่เมาะ ปัญหาตะกั่วที่อำเภอทองผาภูมิ และสารหนูที่ร่อนพิบูลย์ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นผลกระทบที่เกิดจากการทำเหมืองแร่. บทความชุดอาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์ฉบับนี้ ขอปิดประเด็นเรื่องของ " เหมือง " ...