มะเร็ง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    Fuccio L, et al. Meta-analysis: Can Helicobacter pylori Eradication treatment reduce the risk o for gastric cancer? Ann Intern Med 2009; 151:121-8.เชื้อ Helicobacter pylori เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็งกระเพาะอาหาร องค์กร International Agency for Research on Cancer จัดให้ H. pylori เป็นตัวก่อมะเร็งกระเพาะอาหารกลุ่มที่ 1 คำถามต่อมาคือว่าการรักษาเพื่อกำจัดเชื้อนี้จะช่วยลดความเสี่ยง ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    Q  :  PSA คืออะไรA  :  PSA เป็น glycoprotein ชนิดหนึ่ง เรียกว่า  serine protease ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2513 มีขนาดน้ำหนักประมาณ 34 kilodalton ซึ่งผลิตมาจากเซลล์เยื่อบุผิวของ prostate gland และพบได้เฉพาะใน prostatic tissue ไม่ว่าจะเป็น normal, benign, malignant และใน prostatic fluid นอกจากนี้ยังพบมากที่  seminal vesicle ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    Baxter NN, et al. Association of Colonoscopy and Death From Colorectal Cancer. Ann Intern Med 2009; 150:1-8.ที่ผ่านมายังไม่มีหลักฐานจากการวิจัยแบบ randomized trial ที่พิสูจน์ว่าการตรวจ colonoscopy เพื่อคัดกรองมะเร็งลำไส้นั้น ช่วยทำให้คนรอดชีวิตมากขึ้นเท่าใด ล่าสุดนักวิจัยชาวแคนาดาได้ศึกษา population-based case-control study เพื่อดูความสัมพันธ์ดังกล่าว กลุ่ม case ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ตัวอย่างผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 26 ปี มาด้วยอาการเป็นลม หมดสติหลายครั้งในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล โดยเกิดอาการเป็นลมหมดสติวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2 นาที. อาการเป็นลมมักเกิดเมื่อผู้ป่วย หันศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง ขณะที่มีอาการหมดสติไม่พบว่าผู้ป่วยมีอาการชักเกร็งหรือน้ำลายฟูมปาก แต่อย่างใด ...
  • วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ปี พ.ศ. 2551 ที่กำลังจะผ่านพ้นไป อาจกล่าวได้ว่าเป็นปีที่ค่อนข้างเศร้า ทั้งการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ การสูญเสีย "ปู่เย็น" ภัยธรรมชาติหลากหลายนำมาซึ่งการสูญบ้านเรือนทรัพย์สิน ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถาม  :   มะเร็งปากมดลูกเกิดจากเชื้อเอชพีวี 100% หรือไม่ และไม่ได้เกิดจากเชื้อเอชพีวีมีหรือไม่ ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ชายไทยคู่ อายุ 51 ปีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะสุดท้าย (Stage IV). ผู้ป่วยเคยได้รับการผ่าตัดลำไส้ใหญ่ (colectomy) ร่วมกับ jejunostomy. ต่อมาผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยอาการปวดแบบตื้อๆบริเวณหน้าท้อง ตลอดเวลา ความรุนแรงระดับ 10 (visual analog scale). ผู้ป่วยได้รับยา morphine 15 มก. IV ทุก 4 ชั่วโมง (90 มก./วัน) ร่วมกับ pethidine 25 มก. IV สำหรับ breakthrough ...
  • วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ถาม การให้ยา amitriptyline และ fluoxetine ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า มีข้อแตกต่างอย่างไร และต้องใช้ระยะเวลานานเท่าไร.สมาชิกเก่าตอบ ความแตกต่างของยา 2 ขนานอยู่ที่อาการข้างเคียง ความปลอดภัย และการปรับขนาดยา.- ยา amitriptyline เป็นยาแก้ซึมเศร้า กลุ่ม tricyclic อาการข้างเคียงที่พบบ่อยได้แก่ ง่วงซึม ตาพร่ามัว ท้องผูก มี postural hypotension และทำให้มี PR และ QRS interval ยาวขึ้น ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    การตรวจด้วยเครื่อง PET scan มีประโยชน์มากในการวินิจฉัยและรักษาโรคในปัจจุบัน โดยเฉพาะโรคมะเร็งเนื่องจากเป็นการถ่ายภาพในระดับโมเลกุล จึงสามารถตรวจพบความผิดปกติของโรคได้ก่อนเทคนิคการถ่ายภาพที่ให้ข้อมูลทางกายวิภาค (anatomical imaging) เช่น Computed Tomography (CT) หรือ Magnetic Resonance Imaging (MRI). Positron Emission Tomography (PET) เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ...
  • วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคมะเร็งตับ (hepatocellular carcinoma)1,3,9โรคมะเร็งตับ (hepatocellular carcinoma หรือ HCC ) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก รายงานว่าพบมากเป“นอันดับที่ 5 (คิดเป็นร้อยละ 5.6 ของมะเร็งทั้งหมด) โดยมีอุบัติการณ์ในเพศชายมากกว่าเพศหญิง 4 เท่า และเป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 ในเพศชายและอันดับ 4 ในเพศหญิง ...