มะเร็ง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 266 กุมภาพันธ์ 2550
    วิทยาการสมัยใหม่มีเพิ่มขึ้นทุกวันในการดูแลรักษาผู้ป่วย บางครั้งแพทย์โดยเฉพาะแพทย์จบใหม่อาจมีปัญหาในการตอบคำถามหรือสื่อสารกับผู้ป่วย ซึ่งบางครั้งอาจดูเหมือนเป็นคำถามง่ายๆ สั้นๆ แต่จะตอบให้เข้าใจตรงกันได้ยาก ถ้ามีแนวทางในการตอบคำถามและสื่อสารกับผู้ป่วยให้เข้าใจโรคของตนเองก็จะทำให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเป็นไป อย่างสมบูรณ์และดียิ่งขึ้นการผ่าตัดรักษามะเร็งตับQ ...
  • วารสารคลินิก 265 มกราคม 2550
    อาการปากแห้งแต่มีสารคัดหลั่งมากขึ้นในระบบทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มอาการตรงกันข้ามที่เกิดร่วมกันได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งทำให้ญาติเป็นกังวลได้มาก เพราะผู้ป่วยส่งเสียงดังต่อเนื่อง แม้จะไม่รู้สึกตัวแล้วหรือไม่รู้สึกทุกข์ทรมานก็ตาม ทั้งอาการปากแห้งยังทำให้ญาติเข้าใจผิดว่า ผู้ป่วยกระหายน้ำมาก จึงเป็นภาพที่ให้ความรู้สึกว่า ผู้ป่วยไม่สุขสบาย การช่วยดูแลรักษาภาวะนี้ ...
  • วารสารคลินิก 263 พฤศจิกายน 2549
    Q  :  ผู้ป่วยเป็น CA breast มาปรึกษาเนื่องจากมีนัดผ่าตัดเต้านมที่โรงพยาบาลจังหวัดแต่ผู้ป่วยอยากเก็บเต้านมไว้ จะให้คำแนะนำอย่างไร ทำได้หรือไม่A :   ปัจจุบันสามารถทำได้ เรียกว่า breast conservative treatment ประกอบด้วย การผ่าตัดก้อนบริเวณเต้านมออก และตามด้วยการฉายแสงต่อหลังจากผ่าตัด.Q  :  ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    หลังจากที่แนะนำให้รู้จักความปวดและการประเมินความปวดในบทความตอนที่ 1 แล้วนั้น เมื่อผู้รักษาสามารถวินิจฉัยความปวดได้แต่เนิ่นๆ และประเมินปวดได้แล้ว จึงควรมาทำความรู้จักกับการรักษาความปวด. ในที่นี้จะเน้นเฉพาะปวดเรื้อรังจากมะเร็งหรือโรคระยะสุดท้ายต่างๆ จะไม่เน้นเรื่องการรักษาปวดเฉียบพลันหรือปวดเรื้อรังอื่นๆ อาทิเช่น ปวดไมเกรน ปวดอุ้งเชิงกรานเรื้อรังจากเยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    นักวิจัย สกว. พบหนทางใหม่ช่วยรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งมีโอกาสหายได้มากขึ้น ด้วยการเพิ่มจำนวนและประสิทธิภาพการทำงานของเม็ดเลือดขาวที่จำเพาะต่อการทำลายเซลล์ มะเร็ง ระบุในระดับหลอดทดลอง เซลล์เม็ดเลือดขาวมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมถึง 100 เท่า สามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้ดี เผยขณะนี้ขยายผลทดลองในหนู ...
  • วารสารคลินิก 259 มิถุนายน 2549
    มากกว่า 2 ใน 3 ของผู้ป่วยมะเร็งขั้นลุกลามมีความปวดรุนแรง1,2  ความปวดเหล่านี้มีผลทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง. ความทนทุกข์ทรมานจากอาการปวดเรื้อรังเป็นเวลานานส่งผลถึงสภาวะทางจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยมะเร็งและคนรอบข้าง. American Pain Society จึงจัดความปวดเป็นสัญญาณชีพอย่างที่ 5 ที่แพทย์ควรจะประเมินเหมือนกับสัญญาณชีพอื่นๆ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอาการปวดอย่างทันท่วงทีและเพียงพอ ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า Human papillomavirus (HPV) เป็นไวรัสที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อของเยื่อบุปากมดลูกชนิด squamous และการคงอยู่ของการติดเชื้อชนิดนี้เป็นความเสี่ยงสูง (high risk oncogenic HPV) ต่อการเป็นมะเร็งปากมดลูก. อย่างไรก็ตาม HPV มีอยู่ด้วยกันหลาย genotypes ก็ทำให้เกิดอาการแสดงทางคลินิกได้หลากหลายรูปแบบเช่นกัน ตัวอย่างเช่น HPV-6, HPV-11 จะก่อให้เกิดโรคหูดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ส่วน ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    (Berrington de Gonzalez A, Darby S. Risk of cancer from diagnostic  X-rays : estimates for the UK and 14 other countries. Lancet 2004;363: 345-51.) การตรวจด้วยรังสีเอกซ์เป็นสาเหตุที่ทำให้คนเราได้รับรังสีเข้าสู่ร่างกายมากที่สุด คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 14 ของแหล่งกำเนิดรังสีทั้งหมดทั่วโลก. ข้อมูลจาก 15 ประเทศ เกี่ยวกับความถี่และประเภทของรังสีเอกซ์ที่มีการใช้ในประเทศต่างๆ ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    ถาม  : คุณลุงอายุ 70 ปี มีปัญหาไปตรวจแล้วพบว่าเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ส่วนปลายแพทย์แนะนำให้ผ่าตัด แต่ต้องมีลำไส้อยู่หน้าท้องตลอดชีวิต คุณลุงเลยไม่ยอมผ่าตัดไม่ทราบว่าจะมีวิธีรักษาแบบอื่นๆ ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    ความสำคัญของการดูแลรักษาก้อนที่ตับต้องแยกให้ได้ว่าเป็นเนื้องอกไม่ร้ายแรง (benign) หรือเป็นมะเร็ง (malignant) ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลเพื่อช่วยในการวินิจฉัย ได้แก่ ประวัติการเจ็บป่วย เช่น การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีหรือซี (chronic hepatitis B or C infection)  ภาวะตับแข็ง, การตรวจร่างกาย,การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจหน้าที่, การทำงานของตับ tumor marker (alpha-feto-protein, CEA, CA ...