-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
397
พฤษภาคม 2555
ทาลัสซีเมีย เป็นโรคโลหิตจางที่มีสาเหตุจากความผิดปกติทางพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ทำให้ร่างกายสร้างโปรตีนโกลบิน (ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเฮโมโกลบิน)* ที่มีลักษณะผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงของผู้ป่วยอายุสั้นและแตกง่าย เป็นผลให้เกิดอาการซีดเหลืองเรื้อรังและมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาโรคนี้แบ่งออกเป็นหลายชนิด ซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยและวิธีบำบัดรักษาแตกต่างกันไปผู้ที่เป็นโรคนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
382
กุมภาพันธ์ 2554
คนไข้โรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลรักษาที่โรงพยาบาลแห่งนี้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข แม้ว่าคนไข้บางคนจะอยู่ในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิตโรงพยาบาลรักษาโรคมะเร็ง โรงพยาบาลแห่งนี้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคมะเร็งขนาด ๔๐๐ เตียง แต่ปัจจุบันสามารถรับคนไข้ได้ ๘๘ เตียง ให้บริการรักษาคนไข้มะเร็งด้วยรังสีรักษา ยาเคมีบำบัด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
383
มกราคม 2554
ถาม : ทักษิณา/ลพบุรีดิฉันขอเรียนถามว่า ไตของคนเรามีโอกาสเป็นมะเร็งด้วยหรือคะตอบ : นพ.วิเชียร ศรีมุนินทร์นิมิตถ้าพูดถึงมะเร็ง คนส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับมะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก เป็นต้น แต่ปัจจุบัน โรคมะเร็งไต (renal cell carcinoma) ได้เกิดขึ้นกับคนไทย แม้ว่าจะเป็นกันไม่มากเมื่อเทียบกับมะเร็งชนิดอื่นๆ ก็ไม่ควรละเลยกันทั่วโลกมีผู้ชายที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งไต ๔.๗๕ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
385
มกราคม 2554
ถาม : จุมพล/ร้อยเอ็ดผมมีอาการเสียงแหบมาเกือบเดือนแล้ว ไม่ทราบว่าเป็นผลมาจาการดื่มเหล้าและสูบบุหรี่หรือไม่ (กลัวเป็นมะเร็ง) ครับตอบ : นพ.พรชัย โอเจริญรัตน์การดื่มสุราและสูบบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งศรีษะและลำคอ โดยผู้ป่วยอาจมีความคิดปกติระดับยีนที่เสริมให้เกิดมะเร็งจาการดื่มสุราและสูบบุหรี่นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่น เช่น ภาวะทางภูมิคุ้มกันผิดปกติทางพันธุกรรม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
377
กันยายน 2553
วาโก้โบว์ชมพู สู้มะเร็งเต้านม ๒๐๑๐ ร่วมกับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ และโรงพยาบาลสมิติเวช เชิญชวนหญิงไทยเข้ารับการตรวจเอกซเรย์เต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรมพร้อมอัลตราซาวนด์ ในกิจกรรม "Wacoal Cares Your Breasts. Mammogram Saves Your Life." นพ.มงคล ณ สงขลา ประธานงานโครงการ "วาโก้โบว์ชมพู สู้มะเร็งเต้านม ๒๐๑๐" กล่าวว่า "สถิติผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในประเทศไทย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
375
กรกฎาคม 2553
มะเร็งต่อมลูกหมาก ส่วนใหญ่ไม่มีอาการแสดง และอาจตรวจพบโดยบังเอิญขณะไปตรวจเช็กสุขภาพกับแพทย์ บางรายอาจมีอาการถ่ายปัสสาวะลำบากแบบเดียวกับอาการของต่อมลูกหมากโตมะเร็งชนิดนี้มักลุกลามช้า และสามารถมีชีวิตเป็นปกติสุขและยืนยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคนที่ไม่มีอาการแสดงปัจจุบันยังไม่แนะนำให้ผู้ที่ไม่มีอาการแสดงไปตรวจคัดกรองมะเร็งชนิดนี้ด้วยการตรวจหาระดับสารพีเอสเอในเลือด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
375
กรกฎาคม 2553
พบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในกรุงเทพฯ ๗-๑๐ คนต่อประชากร ๑ แสนคน เหตุจากกรรมพันธุ์ ๒-๓ เท่า และพฤติกรรมการกินอยู่แบบทันสมัยศ.กิตติคุณ นพ.จรัส สุวรรณเวลา รองประธานศูนย์วิจัยศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และ นพ.ณวรา ดุสิตานนท์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาศัลยศาสตร์มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก เปิดเผยถึงผลสรุปของโครงการบำเพ็ญพระกุศลใน ศ.ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
374
มิถุนายน 2553
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เผยโรคมะเร็งเป็นภัยร้ายตัวฉกาจ ทำให้คนไทยเสียชีวิตมากเป็นอันดับ ๑ ปีละกว่า ๕๕,๐๐๐ ราย เป็นชายมากกกว่าหญิง ๒ เท่าตัว กว่าครึ่งเป็นผู้สูงอายุ แนะสูตรลดเสี่ยงมะเร็ง “เพิ่ม ๕ ลด ๗” อาทิ เพิ่มการกินผักผลไม้สดมากขึ้นให้ได้วันละ ๔ ขีด เพิ่มการออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนักตัว ลดกินอาหารมัน ดองเค็ม อาหารปิ้ง-ย่าง รมควัน อาหารสุกๆ ดิบๆ ลดสูบบุหรี่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
374
มิถุนายน 2553
ผู้อ่านหลายคนคงเคยได้ยินประโยคที่คนไทยชอบพูดกันว่า “กินเรื่องใหญ่ ตายเรื่องกลาง ตะรางเรื่องเล็ก” ซึ่งเป็นการกล่าวแบบติดตลกที่อธิบายภาพพฤติกรรมการกินของคนไทยได้ค่อนข้างชัดเจนว่าชอบสนุกกับการกินจนไม่กลัวตายหรือติดตะราง แต่ในความหมายลึกๆ นั้นมีสิ่งที่น่าสนใจว่า การที่คิดว่าเรื่องกินเป็นเรื่องใหญ่นั้นน่าจะจริง และเมื่ออ่านเรื่องนี้จบแล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
374
มิถุนายน 2553
ปัจจุบันมะเร็งถือเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ และมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับการตายจากอุบัติเหตุและภาวะเฉียบพลันของโรคหลอดเลือดหัวใจปี พ.ศ.๒๕๔๙ ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง ๖๖,๐๐๐ รายผู้ชายพบมะเร็งปอดมากที่สุด ๕,๕๓๕ ราย รองลงมาคือมะเร็งตับผู้หญิงพบมะเร็งปากมดลูกมากที่สุด ๑,๔๘๔ ราย รองลงมาคือมะเร็งปอด มะเร็งเต้านมโรคมะเร็งในทัศนะแพทย์แผนปัจจุบันมะเร็ง คือ ...