การพัฒนา EQ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ฝึกจิตเหมือนเล่นฮูลาฮูปฝึกฝน ปัญญาก่อฉันทะ วิริยะพาฝึกฝน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มกราคม 2554
    สุข-ทุกข์ อยู่ที่มุมมอง“เปลี่ยนความคิด เปลี่ยนชีวิต”“Change your thinking, change your life”นั่นคือคำขวัญบนปกหนังสือชื่อ “Mind power” ซึ่งเขียนโดย James Borg นักจิตวิทยาชาวอังกฤษหนังสือเล่มนี้ได้ตอกย้ำความสำคัญของความคิดของคนเราว่าเป็นตัวกำหนดการรับรู้และการแปลความในสิ่งที่รับรู้ต่างๆ แล้วทำให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึก และการกระทำ (ทั้งทางใจและกาย) ตามมา เมื่อเกิดซ้ำๆ ก็กลายเป็นนิสัยสันดาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 376 สิงหาคม 2553
    ต้นทุนชีวิต มาจากคำว่า Development Assets หมายถึง ต้นทุนขั้นพื้นฐานที่มีผลต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจ สังคม สติปัญญาให้คนคนหนึ่งสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้อย่างเข้มแข็งต้นทุนชีวิตเป็นปัจจัยสร้าง หรือเป็นปัจจัยเชิงบวกทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม ที่จะหล่อหลอมให้เด็กคนหนึ่งเจริญเติบโตและดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ทำไมต้องสร้างต้นทุนชีวิตที่ดีของเด็กและเยาวชน เพราะ...๑. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 374 มิถุนายน 2553
    สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ได้มอบรางวัลการดูแลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ (Humanized Healthcare Award) ในระดับโรงพยาบาล ๖ แห่ง และระดับหน่วยงานในโรงพยาบาล ๒ แห่ง เพื่อเชิดชูเกียรติและประกาศคุณงามความดี ที่ดูแลคนไข้และประชาชนด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ ในงานประชุม HA National Forum ครั้งที่ ๑๑ ระหว่างวันที่ ๙-๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ณ ศูนย์การประชุม Impact ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 พฤษภาคม 2553
    เมื่อโยคะวิชาการเข้าไปประกาศตัวในระบบการศึกษา จะส่งผลอย่างไรต่อนิสิตนักศึกษาที่เป็นผู้เรียนโดยตรงจ๊ะเอ๋-วริษฐา ขอประเสริฐ และ กุ่ย-ปิยะชัย ฮึงวัฒนา นิสิตคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี ๓ แม้จะไม่ใช่วิชาในคณะตนเองโดยตรง แต่มีความสนใจเรียนวิชาโยคะเป็นความรู้และอยากลอง(กุ่ย)ตอนแรกถามอาจารย์ว่าเรียนอะไร ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 373 มกราคม 2553
    ยิ้มสยาม สยามเมืองยิ้มเมืองไทย ได้ชื่อว่าเป็นสยามเมืองยิ้มมาเป็นระยะเวลานาน ทว่าในยุคปัจจุบัน รอยยิ้มที่ฉายประกายแห่งความสุข ดูแล้วสบายตา สบายใจ แววตาแห่งการต้อนรับที่อบอวลด้วยความอบอุ่นนั้นดูเลือนรางและลดลงทุกวัน เริ่มเป็นยิ้มแบบฝืดๆ ฝืนๆ เฝื่อนๆ เยาะๆ เย้ยๆ ซ่อนประโยชน์ ซ่อนอารมณ์ ซ่อนเงื่อนกันไป ผู้คนเริ่มมีใบหน้าที่เคร่งขรึม เคร่งเครียด จริงจังมากขึ้น จนอาจลืมไปเลยว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 366 ตุลาคม 2552
    ท่านดาไลลามะ เคยกล่าวไว้ว่า ปัญหาของมนุษย์ทุกวันนี้คือความพร่องจิตวิญญาณ และการแก้ไขปัญหาของมนุษยชาติคือการปฏิวัติทางจิตวิญญาณ (Spiritual Revolution)ปัจจุบันคำว่า Spirit, Spiritual, Spiritual Experience หรือ Spiritual Development ถูกใช้ในภาษาอังกฤษอย่างเป็นธรรมดา ถ้าจะพูดไปแล้วเรื่องเหล่านี้คือกลุ่มหนังสือที่ขายดีที่สุดในโลก คนที่สนใจเรื่องนี้นอกจากด้านสุขภาพมีมากมาย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    สำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านพฤติกรรมเด็ก นักวิจัย และแพทย์แล้ว มีมุมมองต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กว่า โดยส่วนใหญ่แล้ว ความรุนแรงของเด็กในครอบครัวเกิดจากพ่อแม่ การเลี้ยงดู และสภาพแวดล้อมในครอบครัวแพทย์หญิงพรรณพิมล หล่อตระกูล ผู้อำนวยการสถาบันราชานุกูล เปิดเผยถึงวิธีการรับมือกับสภาวะทางอารมณ์ของเด็กในวัยที่แตกต่างกันว่า พ่อแม่ควรมีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่รู้ว่าตั้งครรภ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 346 กุมภาพันธ์ 2551
    นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพความสุขกับสุขภาพคำเกริ่นมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ ได้จัดทำสมุดบันทึกประจำวัน (ไดอารี) โดยใช้ชื่อว่า "กรุ่นกลีบความสุข ๒๕๕๑" ในเล่มมีภาพวาดดอกไม้หลากชนิดอันงดงาม และมีบทความเกี่ยวกับความสุข เดือนละ ๑ บทผมมีโอกาสเขียนบทประจำเดือนพฤศจิกายน โดยใช้ชื่อว่า "ความสุขกับสุขภาพ"จึงขอนำมาเผยแพร่ในบอกเล่าเก้าสิบฉบับนี้ครับ คำว่า "สุขภาพ" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 345 มกราคม 2551
    นพ.บรรลุ ศิริพานิชการมีสุขภาพจิตที่ดีคนที่มีสุขภาพจิตดี คือคนที่สามารถปรับตัวเข้ากับเหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ได้ ไม่ว่าเหตุการณ์นั้นจะเป็นไปในทางดีหรือร้าย แนวทางที่จะทำให้มีสุขภาพจิตดีมีหลายแนวทางดังต่อไปนี้๑.ครอบครัวร่มเย็นเป็นสุขเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรมต่างๆ มักจะมาจากครอบครัวแตกแยกเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นบุคคลในครอบ- ครัวจะต้องช่วยกันทำให้ครอบครัวร่มเย็นเป็นสุข ...