-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
377
กันยายน 2553
ช่วงวันหยุดวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา เมื่อปลายเดือนที่ผ่านนี้ ผมได้มีโอกาสไปพักผ่อนที่ต่างจังหวัด ท่ามกลางธรรมชาติอันร่มรื่นและเงียบสงบ เอื้อให้ผมเขียนกาพย์ได้เรื่องหนึ่ง ชื่อว่า "สมองคนฝึกฝนได้" ซึ่งได้นำมาลงไว้ท้ายข้อเขียนนี้ในระยะนี้ผมได้อ่านหนังสือหลายเล่มที่ว่าด้วยการทำงานของสมองมนุษย์* ซึ่งได้นำเสนอข้อมูลการค้นคว้าวิจัยใหม่ๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
374
มิถุนายน 2553
ความพอดีในแง่มุมของแพทย์กับผู้ป่วย เป็นสิ่งที่อยู่ตรงกลางระหว่างความไว้เนื้อเชื่อใจกับความหวาดระแวง ทั้ง ๒ เรื่องถ้ามีมากเกินไปก็ไม่ดี เรียกว่า เชื่อได้แต่ก็อย่าชะล่าใจ และ ระวังไว้ก็ดีแต่อย่าให้ถึงขั้นหวาดระแวงในการตรวจรักษา ถือเป็นบริการที่ผู้ป่วยมาขอให้แพทย์ใช้วิชาความรู้ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาสุขภาพ บางครั้งปัญหาก็เป็นเรื่องง่ายๆ แก้ไขด้วยตัวเองได้ แต่ผู้ป่วยกังวลก็มาพึ่งแพทย์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
372
เมษายน 2553
ตอนนี้ให้ชื่อว่า "ฮ็อบบี้" ที่มาจากภาษาฝรั่ง Hobby ไม่ใช่ "ฮ็อบบิต" นะครับ"ฮ็อบบิต" เป็นชื่อชนเผ่าแคระในเรื่อง "Lord of the ring"ฮ็อบบี้ คืองานอดิเรกพ่อกับแม่ผู้เขียนชอบให้ลูกมีงานอดิเรก ตอนเล็กๆ งานอดิเรกของพวกเราคือสะสมแสตมป์ จะว่าเป็นการริเริ่มของพ่อกับแม่ก็ไม่ใช่ เราได้มาจากเพื่อนๆ ที่โรงเรียนต่างหาก แต่พ่อกับแม่ก็คอยสนับสนุนส่งเสริม วิธีคือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
370
กุมภาพันธ์ 2553
ชีวิตเป็นสิ่งที่มีสีสัน สดชื่น เบิกบาน เบาสบาย สั่นไหว เลื่อนไหล... แล้วเราได้ก้าวเข้าไปในมิติดังกล่าวแล้วหรือยัง? หรือว่าเรายังซังกะตายใช้ชีวิตให้หมดไปวันๆ ชีวิตของเรายังคงหนักอึ้ง ยากที่จะเข้าใจ เป็นอะไรที่ควบคุมไม่ได้ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย มีความไม่สบายกายไม่สบายใจเกิดขึ้นตลอดเวลา ในหัวเต็มไปด้วยความคิดที่สับสน ขัดแย้ง และบางครั้งก็เกิดเป็นอารมณ์ความรู้สึกที่รุนแรง บางครั้งก็หดหู่ เหี่ยวแห้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
370
กุมภาพันธ์ 2553
การดูแลรักษาคนไข้จิตเวช มีความยุ่งยากซับซ้อนแตกต่างไปจากคนไข้ทางกาย ผู้รักษาพยาบาลต้องใช้มิติทางด้านจิตใจสูง จึงจะสามารถเยียวยาคนไข้ได้ดี นอกจากนั้นแพทย์และพยาบาลยังต้องมีใจไว้เยียวยาตัวเองด้วยผมมีโอกาสไปเยี่ยมให้คำปรึกษาเรื่องการพัฒนาคุณภาพสถาบันจิตเวชแห่งหนึ่ง ได้เรียนรู้การปฏิบัติงาน ปรัชญาแนวคิดของเจ้าหน้าที่ รวมทั้งวิถีชีวิตของคนไข้ เป็นประสบการณ์ที่น่าประทับใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
369
มกราคม 2553
คนเราเมื่ออยู่ในภาวะคับขัน ย่อมต้องการใครสักคน หรือสิ่งยึดเหนี่ยวเพื่อเป็นที่พึ่ง คนเจ็บไข้ได้ป่วยที่ต้องมาโรงพยาบาลก็เช่นเดียวกัน ย่อมต้องการที่พึ่งทั้งคน บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เยียวยาทั้งร่างกายและจิตใจสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา เป็นเรื่องที่โรงพยาบาลที่พัฒนาคุณภาพให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะมีผลต่อความปลอดภัยของคนไข้ ประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
368
ธันวาคม 2552
การป้องกันคือการรักษาที่ดีที่สุด หรือ "สร้าง" นำ "ซ่อม"กระบวนการ "สร้าง" ได้รับความสำคัญมากขึ้นคำว่า Empowerment ก็เริ่มถูกพูดถึงกันมากขึ้นตามไปด้วย ในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญประการหนึ่งที่จะผลักดันแนวคิดนี้ไปสู่การปฏิบัติให้บังเกิดผลที่เป็นรูปธรรมที่มาและความหมายของ Empowermentคำว่า empower เกิดจากการรวมตัวของคำ 2 คำ คือคำว่า em และคำว่า powerคำว่า em (หรือ en) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
ในหมู่คนที่สนใจดูแลสุขภาพของตนเอง มักมีการเพ่งโทษไปที่สิ่งที่มากเกินไป เช่น ไขมันในเลือดสูง ความอ้วนหรือน้ำหนักเกิน จึงพยายามลดอาหารที่มีไขมันหรือคุมอาหาร หรือนิยมการมีรูปร่างผอมเพรียว แขนขาเก้งก้างเหมือนลำอ้อยบางท่านก็เลือกบริโภคสิ่งที่เชื่อว่ามีผลดีต่อสุขภาพ เช่น กินอาหารมังสวิรัติหรือชีวจิตอย่างเคร่งครัด คือกินแต่พืชผัก ธัญพืช ไม่กินเนื้อสัตว์ ไข่ นม จนขาดสารอาหารที่จำเป็น เช่น ธาตุเหล็ก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
ความเจ็บป่วยและโรคหลายชนิดเมื่อวินิจฉัยแล้วว่าไม่มีโอกาสรักษาให้หายได้ แม้จะด้วยวิทยาการทางการแพทย์ที่สมัยใหม่เพียงใด แต่หลายครั้งผู้ป่วยกลับหายป่วยได้ด้วยการรักษาจาก "ใจ" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
365
กันยายน 2552
ฉบับนี้ คุณหมอกฤษฎา บานชื่น ได้เริ่มข้อเขียนตอนแรกในคอลัมน์ " พ่อสอนลูก" ว่าด้วยการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อนที่จบแพทย์รุ่นเดียวกับผมท่านนี้ มีความสนใจเรื่องการออกกำลังกายมาตั้งแต่เล็ก และเคยเขียนคอลัมน์ประจำเกี่ยวกับการออกกำลังกายในหมอชาวบ้าน ซึ่งต่อมาได้พิมพ์เป็นหนังสือเล่มออกมา 2เล่ม คือ "คู่มือวิ่งเพื่อสุขภาพ" และ "คู่มือขี่จักรยานเพื่อสุขภาพ" ...