การใช้ยาสมุนไพร

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    การแพทย์ทางเลือกกับโรคผิวหนัง (ตอนจบ)งานวิจัยสมุนไพรไทยและข้อแทรกซ้อนจากการใช้สมุนไพรงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพรไทยรักษาโรคผิวหนังมีงานวิจัยการใช้สมุนไพรหลายชนิดที่พิสูจน์ว่าได้ผลดีในการรักษาและป้องกันโรคผิวหนัง ได้แก่สารสกัดจากพญายอ (เสลดพังพอน) รักษาเริมและงูสวัดสารสกัดกระเทียม รักษาโรคกลากและเกลื้อนสารสกัดจากน้อยหน่า รักษาเหาสารสกัดจากผักบุ้งทะเล ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    ฤดูหนาวสั้นๆ ของประเทศไทยมาเยือนทำให้นึกถึงบรรดาไม้เถาเลื้อยที่มีดอกสีม่วงงดงาม ออกดอกในช่วงฤดูหนาวแบบนี้ หนึ่งในนั้นคือ ม่วงมณีรัตน์ ซึ่งเป็นไม้เถาเลื้อยขนาดกลาง ชื่อวิทยาศาสตร์ของม่วงมณีรัตน์ คือ Saritaea magnifica (W.Bull) Dugand มีชื่อสามัญ Purple bigonia หรือ Glowvine อยู่ในวงศ์ Bignoniaceae สำหรับคนไทยอาจสับสนกับ ดอกบานบุรีม่วง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    ดอกชมจันทร์หรือดอกพระจันทร์ (Moonflower) เป็นดอกไม้ของไม้เลื้อยที่ถูกจัดไว้ในวงศ์ Convolvulaceae สกุล Ipomoea มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea alba L. ถิ่นกำเนิดของ “ชมจันทร์” อยู่ในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ต่อมาถูกนำไปปลูกแพร่หลายทั้งพื้นที่เขตร้อนและเขตอบอุ่นของสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และเอเชีย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    ยุคสมัยนี้ “การแพทย์ทางเลือก” หรือ alternative medicine มีบทบาทมากขึ้นการแพทย์ทางเลือกหมายถึงการรักษานอกเหนือไปจากการรักษาหลักที่ยอมรับกันทั่วไป อาจเริ่มมาจากความเชื่อ ปรัชญา การสังเกต และบางชนิดยังไม่ได้ผ่านการพิสูจน์ตามหลักวิทยาศาสตร์อย่างไรก็ตาม การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรใดๆ ที่นำมาใช้ เมื่อมีการพิสูจน์ว่าได้ผลจริงและปลอดภัย ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 มกราคม 2554
    “ดอกหอมชื่นใจ ดอกอะไรกันจ๊ะ”ผมได้ยินเสียงดังเจื้อยแจ้ว แหวกอากาศมาตั้งแต่เช้าตรู่“พี่เห็นเขียนป้ายวางไว้บนโต๊ะ ไปหลงเสน่ห์ดอกไม้มาละซี คงจะหอมน่าดู”ใช่ครับ ดอกไม้นี้มีกลิ่นหอมมาก เมื่อสูดดมแล้วมีกลิ่นหอมชื่นใจ แต่ไม่ใช่ดอกไม้ที่มีชื่อว่า ดอกหอมชื่นใจถ้าท่านผู้อ่านกำลังแสวงหาไม้ดอกหอม ที่มีดอกกลิ่นหอมมาก ลักษณะของกลิ่นหอมแบบหอมหวาน เบาสบาย ยิ่งสูดดมก็ยิ่งชื่นใจ ไม่มีอาการปวดศีรษะ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 381 มกราคม 2554
    บุหรงน่ารัก แหม! ฟังชื่อแล้วอยากเห็น อยากเป็นเจ้าของ อยากปลูกไว้เชยชมเป็นสมบัติส่วนตั๊ว...ส่วนตัว แล้วบุหรงน่ารัก น่ารักอย่างไร บุหรงเป็นกลุ่มของพรรณไม้สกุลหนึ่งในวงศ์ กระดังงา ที่เรียกว่า สกุลบุหรง มีอยู่ทั่วโลกรวมทั้งหมด ๓๐ ชนิด แต่มีอยู่ในประเทศไทย ๑๒ ชนิด ได้แก่ บุหรงช้าง บุหรงสุเทพ บุหรงดอกแหลม บุหรงดอกทู่ บุหรงใบเรียว บุหรงภูหลวง บุหรงก้านยาว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    ยาสามัญประจำป่ากลับคืนมาสู่สังคมรางจืด...เป็นสมุนไพรชนิดเดียวที่มีการใช้แก้พิษในอดีตและมีข้อมูลการวิจัยสนับสนุนรางจืด...ล้างพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชด้วยกระแสของการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร ที่เกษตรกรต้องใช้ยาฆ่าแมลงและสารเคมีจำนวนมากในการผลิต จากการสำรวจตัวอย่างเลือดของเกษตรกรของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า มีสารเคมีในกระแสเลือดอยู่มากว่าร้อยละ ๕๑ เพราะฉะนั้นจากเกษตรกร ๑๔.๑ ล้านคนจะพบ ๗ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 385 มกราคม 2554
    สิวและฝ้าจัดเป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยมาก ปัจจุบันมีแนวโน้มในการนำสมุนไพรมาใช้หรือใช้ร่วมเพื่อรักษาโรคสิวและโรคฝ้ามากขึ้น ดังนี้สิว ได้มีการใช้สารแทนนิน (tannins) ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดรสฝาดในพืชบางชนิด สกัดจากเปลือกต้นไม้ เช่น โอ๊กและฝาง มาใช้ทารักษาสิวเพราะมีคุณสมบัติสมานผิว (astringent properties) ที่ใช้บ่อยคือวิตช์ฮาเซล (witch hazel) กรดผลไม้ (fruit acids) เช่น กรดซิตริก (citric) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    แตงโม Citrullus lanatus (Thunb.) Matsum & Nakai เป็นพืชวงศ์แตง Cucurbitaceae ภาคอีสานเรียกบักโม ภาคเหนือเรียกบะเต้า คนตรังเรียกแตงจีน มีชื่อสามัญว่า Watermelon แปลว่า "แตงน้ำ" เพราะในผลแตงโมมีน้ำเป็นส่วนใหญ่ แตงโมมีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบทะเลทรายคาลาฮารี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    พืชที่เราเรียกว่าบัวถูกแบ่งแยกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ บัวหลวง หรือปทุมชาติ และบัวสายหรืออุบลชาติ บัวสาย (waterlily) เป็นพืชในสกุล Nymphaea ที่มีการแบ่งย่อยลงไปอีกได้ ๕ สกุล ย่อยคือ บัวสายบานกลางคืนอเมริกัน บัวสายบานกลางคืนของเอเชียแอฟริกาหรือที่เราเรียกว่าบัวกินสาย บัวสายบานกลางวันเขตร้อน (เช่น บัวผัน ...