สุขภาพทางเพศและครอบครัว

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 397 พฤษภาคม 2555
    ทารกเพศหญิงอายุครรภ์ ๒๕ สัปดาห์ น้ำหนักแรกเกิด ๖๔๐ กรัม แม่มีประวัติน้ำเดิน ๒ วันก่อนคลอด หลังคลอดหมอบอกว่าเป็นการแท้งลูก ทารกไม่สามารถมีชีวิตรอดได้ ญาติจึงนำทารกน้อยใส่กล่องออกจากโรงพยาบาล เตรียมการประกอบพิธีศพ เรื่องของเด็กหญิงกล่องเมื่อถึงบ้านหลังคลอดได้ ๕ ชั่วโมง ญาติพบว่าทารกร้องและยังคงหายใจอยู่ จึงนำทารกน้อยกลับไปที่โรงพยาบาลอีกครั้ง แพทย์รับไว้ดูแลรักษาจนอายุ ๑๒ วัน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    เด็กต้องการการเลี้ยงดูและการดูแลจากพ่อแม่จนกระทั่งเติบโตและสามารถพึ่งพาตนเองได้ หากพ่อแม่ไม่ดูแลเด็ก คงเป็นเรื่องยากที่เด็กจะอยู่รอดปลอดภัยและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ได้ พ่อแม่ไม่ควรขู่ว่าจะทอดทิ้งเด็ก ไม่ว่าจะพูดทีเล่นทีจริงหรือพูดด้วยอารมณ์โกรธการที่เด็กทำตัวเป็นเด็กดี ไม่ใช่เพราะว่าเด็กชอบเป็นเด็กดี แต่เด็กต้องการจะดีพอที่พ่อแม่จะรักและเลี้ยงดู ดังนั้น เป้าหมายหลักอยู่ที่ตัวเด็กเอง ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ มาตรา ๖ ระบุว่า สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ ซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อน และมีอิทธิพลต่อสุขภาพของหญิงตลอดช่วงชีวิต ดังนั้น การแก้ปัญหาหญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์โดยไม่มีความพร้อมที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น โดยอาศัยเพียงกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งหรือ (ร่าง) พ.ร.บ.คุ้มครองอนามัยการเจริญพันธุ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 380 ธันวาคม 2553
    สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เผยผลงานวิจัยของพยาบาลจากโคราช พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือมารดาวัยรุ่นทดลองใช้แล้วได้ผลดี หวังเป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาแม่วัยรุ่นทั่วประเทศ นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กล่าวว่า น่าเป็นห่วงที่ปัจจุบันมีข่าวเกี่ยวกับการทำแท้งและปัญหาแม่วัยรุ่นที่ไม่สามารถทำหน้าที่แม่ได้อย่างเหมาะสม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 379 พฤศจิกายน 2553
    ปัญหาวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์หรือตั้งครรภ์โดยไม่มีความพร้อม เป็นปัญหาสังคม ศีลธรรม และระบบสาธารณสุข โดยเฉพาะการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยและผิดกฎหมาย มีข้อมูลพบว่า เด็กที่คลอดก่อนกำหนดปีละ ๖.๔-๘ หมื่นราย หรือคิดเป็นร้อยละ ๘-๑๐ ของหญิงตั้งครรภ์ในแต่ละปี จะมีทารกส่วนหนึ่งเสียชีวิต หรือถ้าหากรอดชีวิตก็จะมีภูมิต้านทานต่ำ ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาลหลายสัปดาห์หรืออาจเป็นเดือน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 378 ตุลาคม 2553
    ฉบับที่แล้วสรุปสาระสำคัญของร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. .... เสนอโดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ๓ ประเด็นไปแล้ว ฉบับนี้ต่อประเด็นที่ ๔-๘ ดังนี้ ๔. เรื่องความเป็นบิดามารดาตามร่างกฎหมายนี้ ถือว่าเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของคู่สมรสที่ต้องการจะมีบุตร แม้ว่าคู่สมรสที่ต้องการจะมีบุตรถึงแก่ความตายก่อนเด็กเกิดก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวดาราสาวที่ขอให้พี่สาวตั้งครรภ์แทนจนคลอดบุตรสาวตามที่หวังไว้ เรื่องนี้คงทำให้ผู้หญิงหลายคนที่มีบุตรยากหรือไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ด้วยตนเองมีความสนใจที่จะมีบุตรด้วยวิธีการนี้มากขึ้น การอุ้มบุญหรือตั้งครรภ์แทน๑ โดยใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (assisted reproductive technology-ART) เป็นเรื่องที่มีมานานราว ๒๐ ปี แต่เพิ่งจะพูดกันอย่างเปิดเผยในสังคมไทยเมื่อไม่นานมานี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 377 กันยายน 2553
    ประสบการณ์จากการเยี่ยมโรงพยาบาล ได้มีโอกาสพูดคุยกับแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ มีเรื่องจริงที่งดงามเกิดขึ้นจากการทำงาน จากการทำหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพในการรักษาเยียวยาคนไข้ และจากการทำหน้าที่ของมนุษย์ต่อเพื่อนมนุษย์ขอนำมาเผยแพร่ เพื่อชื่นชมยินดี และเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการทำความดีประติหานกับแม่อัมพาตคนไข้จิตเวชเกิดอาการคลุ้มคลั่ง คว้าปืนลูกซองออกมายิงกราด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 376 สิงหาคม 2553
    ฉบับที่แล้วเล่าถึงแนวความคิดและการทำงานในโครงการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหืดของหน่วยงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลบ้านโป่ง แต่ไม่ได้ลงรายละเอียดมากนัก ครั้นจะเขียนเล่ารายละเอียดของโครงการทั้งหมด ก็ดูเป็นวิชาการไปคงน่าเบื่อ จะใช้วิธีการที่บุคลากรทางสาธารณสุขสามารถประยุกต์ใช้ได้ในหน่วยงานของตน และญาติผู้ป่วยทั้งหลายก็สามารถนำไปปรับใช้ได้เช่นกันโครงการนี้เริ่มจากการเก็บข้อมูลของหน่วยงานกุมารเวชกรรม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 376 สิงหาคม 2553
    ต้นทุนชีวิต มาจากคำว่า Development Assets หมายถึง ต้นทุนขั้นพื้นฐานที่มีผลต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจ สังคม สติปัญญาให้คนคนหนึ่งสามารถดำรงชีพอยู่ในสังคมได้อย่างเข้มแข็งต้นทุนชีวิตเป็นปัจจัยสร้าง หรือเป็นปัจจัยเชิงบวกทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม ที่จะหล่อหลอมให้เด็กคนหนึ่งเจริญเติบโตและดำรงชีพอยู่ในสังคมได้ทำไมต้องสร้างต้นทุนชีวิตที่ดีของเด็กและเยาวชน เพราะ...๑. ...