โรคและอาการ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 02 มกราคม 2565
    HIGLIGHTS(1) ปฏิบัติตัวอย่างไรที่บ้านและที่ทำงาน หลังกลับจากการเยี่ยมบ้านและเที่ยวช่วงปีใหม่ หากเดินทางกลับจากจังหวัด หรือบริเวณที่มีความเสี่ยง ควรทำตามแนวทางนี้1.สังเกตอาการ 14 วัน เลี่ยงการรวมกลุ่ม2.แจ้งองค์กรขอ WFH 14 วัน3.ตรวจ ATK 2 ครั้ง ห่างกัน 3 วัน(2) หากมีอาการ แม้จะ 1-2 อาการ ให้ตรวจด้วย ATK1.มีไข้ต่ำๆ ตั้งแต่ 37.5 องศา ขึ้นไป2.ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ3.จมูกไม่ได้กลิ่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 03 มกราคม 2565
    จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโอมิครอน ตั้งแต่ปลายปี 2021 ถึงต้นปี 2022 มีข้อมูลจำนวนมากออกมา เกี่ยวกับชุดตรวจ ATK ว่ามีชุดตรวจที่ใช้สำหรับตรวจหาสายพันธุ์โอมิครอนได้โดยเฉพาะ และบางชุดตรวจก็ใช้ตรวจหาสายพันธุ์โอมิครอนไม่ได้เลย วันนี้ เราจะมาทำความเข้าใจกันเกี่ยวกับข้อเท็จจริง เรื่องชุดตรวจ ATK ว่าการมาถึงของสายพันธุ์โอมิครอนส่งผลต่อประสิทธิภาพของชุดตรวจ ATK ได้อย่างไรบ้างชุดตรวจ ATK ทั่วไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 001 ธันวาคม 2564
    HIGLIGHTSโอมิครอน (Omicron) คือ เชื้อไวรัสกลายพันธุ์ที่ถูกค้นพบโดยทีมนักวิจัยของประเทศแอฟริกาใต้ โดย WHO ประกาศให้เป็นสายพันธุ์ที่น่ากังวล ต่อมามีการแพร่ระบาดในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป และประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันมีการแพร่กระจายไปแล้วมากถึง 10 จังหวัดการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น หรือบูสเตอร์โดส ปัจจุบันรัฐบาล วางแผนให้ประชาชนฉีดวัคซีนเข็ม 3 ด้วยวัคซีนประเภท mRNA เช่น ไฟเซอร์ (Pfizer) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 397 พฤษภาคม 2555
    ทาลัสซีเมีย เป็นโรคโลหิตจางที่มีสาเหตุจากความผิดปกติทางพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ทำให้ร่างกายสร้างโปรตีนโกลบิน (ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเฮโมโกลบิน)* ที่มีลักษณะผิดปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดงของผู้ป่วยอายุสั้นและแตกง่าย เป็นผลให้เกิดอาการซีดเหลืองเรื้อรังและมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาโรคนี้แบ่งออกเป็นหลายชนิด ซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยและวิธีบำบัดรักษาแตกต่างกันไปผู้ที่เป็นโรคนี้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 397 พฤษภาคม 2555
    คอนแท็กเลนส์แฟชั่นเป็นอย่างไรคอนแท็กเลนส์ (contact Lens) เป็นวัสดุมีลักษณะใส สำหรับใส่ครอบบริเวณกระจกตาดำ เพื่อประโยชน์ด้านต่างๆ ที่สำคัญ ๓ ด้าน๑. แก้ไขภาวะสายตาผิดปกติ เช่น สายตาสั้น สายตาตายาว หรือสายตาเอียง (เช่นเดียวกับการใช้แว่นตา)๒. รักษาโรคของกระจกตาบางโรค เช่น กระจกตาทะลุ กระจกตาเป็นแผล หรือกระจกตานูนผิดปกติ (keratoconus)๓. ความสวยงาม (cosmetic contact lens) เช่น คอนแท็กเลนส์สี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    โรคกระดูกพรุน คือภาวะที่ปริมาณแร่ธาตุ (ที่สำคัญคือแคลเซียม) ในกระดูกลดลง ร่วมกับความเสื่อมของเนื้อเยื่อที่ประกอบเป็นโครงสร้างภายในกระดูก ทำให้เนื้อหรือมวลกระดูกลดความหนาแน่น จึงเปราะบางแตกหักง่าย บริเวณที่พบการหักของกระดูกได้บ่อย ได้แก่ ข้อมือ สะโพก และสันหลังโรคนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น กินอาหารที่มีแคลเซียมสูง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับแสงแดดอ่อนๆ เป็นประจำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    โรคเด็กตาขี้เกียจ คืออะไรเมื่อแรกเกิด ระบบการมองเห็นจะมีการพัฒนาเรื่อยๆ จนอายุประมาณ ๘-๑๐ ขวบ จึงจะเจริญเต็มที่ โดยจำเป็นต้องได้รับการกระตุ้นการมองเห็นที่ดีในตาทั้ง ๒ ข้างในอัตราใกล้เคียงกันถ้ามีสาเหตุใดๆ ที่ทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างไม่ได้ใช้มอง หรือใช้ตาข้างใดข้างหนึ่งน้อยกว่าตาอีกข้าง จะทำให้ตาข้างที่ใช้น้อยกว่ามีพัฒนาการที่ไม่ดีไปตลอดชีวิต โดยเมื่อเด็กโตขึ้นจะก็ไม่สามารถแก้ไขให้กลับมามองเห็นได้ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 396 เมษายน 2555
    ไข้ทรพิษ“ไข้ทรพิษ” เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่พบในสมัยพุทธกาล ขณะนี้จัดว่าเป็นโรคที่สูญพันธุ์ไปแล้วโรคไข้ทรพิษนี้นับว่ามีความสำคัญในแง่ประวัติศาสตร์ พระราชพงศาวดารสมัยกรุงศรีอยุธยาบันทึกไว้ว่า “สมเด็จพระบรมราชาที่ ๔ หน่อพุทธางกูร และสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประชวรด้วยไข้ทรพิษเสด็จสวรรคตทั้ง ๒ พระองค์....”ดังนั้น หากจะสันนิษฐานกันแล้ว ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    เนื้องอกมดลูก เป็นเนื้องอกที่เกิดขึ้นในตัวมดลูก ซึ่งเป็นเนื้องอกชนิดธรรมดา ไม่ใช่มะเร็ง พบบ่อยในหญิงวัยเจริญพันธุ์ อาจพบที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งของตัวมดลูก มีขนาดต่างๆ กันไป อาจเป็นก้อนเดียวหรือหลายก้อนก็ได้ บางชนิดโตช้า บางชนิดโตเร็วถ้าเป็นเนื้องอกก้อนเล็ก ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติใดๆ อาจตรวจพบโดยบังเอิญเมื่อไปตรวจสุขภาพหรือปรึกษาแพทย์ด้วยปัญหาอื่น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 395 มีนาคม 2555
    เมื่อหมอนรองกระดูกของส่วนหลังปลิ้นทับเส้นประสาทด้วยสาเหตุใดๆ ก็ตาม ผู้ป่วยจะมีอาการปวดร้าวลงขา กรณีนี้ต้องพบผู้เชี่ยวชาญเพื่อที่จะแยกโรคและอาการอื่นๆ ออก เช่น โรคมะเร็งกระดูก โรคข้อเสื่อม และอาการกล้ามเนื้ออักเสบ การรักษาหมอนรองกระดูกปลิ้นทับเส้นประสาท ได้แก่ การรักษาทางยาและทางกายภาพบำบัดช่วง ๖-๑๒ สัปดาห์แรกมีความสำคัญมาก ...