โรคและอาการ

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    (Systematic review: impact of constipation on quality of life in adults and children. Belsey J. Aliment Pharmacol Ther 2010, 31:938–949) ท้องผูกเป็นภาวะที่พบบ่อย ประมาณร้อยละ ๑๕-๒๐ ของคนทั่วไปมักจะมีปัญหาท้องผูกเรื้อรัง ซึ่งส่งผลรบกวนชีวิตประจำวัน บางคนหงุดหงิดไม่สบายใจ บางคนแน่นท้อง ไม่สบายท้อง บางคนถึงกับนอนไม่หลับ กระสับกระส่าย สมาธิการทำงานเสียไป ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    อาหารเป็นพิษ ในที่นี้หมายถึง อาการท้องเดิน (อุจจาระร่วง) เนื่องจากการกินอาหารที่มีสารพิษที่เกิดจากเชื้อโรคปนเปื้อน เป็นสาเหตุของอาการท้องเดินที่พบได้บ่อยในหมู่คนทั่วไปส่วนใหญ่มักจะมีอาการไม่รุนแรง และทุเลาได้เองภายใน ๒๔-๔๘ ชั่วโมง สามารถให้การดูแลรักษาอย่างง่ายๆ ด้วยการทดแทนน้ำและเกลือแร่ด้วยสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ส่วนน้อยที่อาจรุนแรง จนต้องให้น้ำเกลือที่โรงพยาบาลอย่างไรก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    อาหารเป็นพิษ ในที่นี้หมายถึง อาการท้องเดิน (อุจจาระร่วง) เนื่องจากการกินอาหารที่มีสารพิษที่เกิดจากเชื้อโรคปนเปื้อน เป็นสาเหตุของอาการท้องเดินที่พบได้บ่อยในหมู่คนทั่วไปส่วนใหญ่มักจะมีอาการไม่รุนแรง และทุเลาได้เองภายใน ๒๔-๔๘ ชั่วโมง สามารถให้การดูแลรักษาอย่างง่ายๆ ด้วยการทดแทนน้ำและเกลือแร่ด้วยสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ส่วนน้อยที่อาจรุนแรง จนต้องให้น้ำเกลือที่โรงพยาบาลอย่างไรก็ตาม ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    ต้อกระจกคือโรคที่เกิดการเสื่อมหรือขุ่นของเลนส์ตามนุษย์ โดยมนุษย์ทุกคนต้องมีการเกิดต้อกระจกในที่สุด เพราะเป็นการเสื่อมตามธรรมชาติ อาจเร็วหรือช้า เช่น เด็กบางคนอาจเป็นโรคต้อกระจกมาแต่กำเนิดโดยทั่วไปมักเริ่มมีอาการของโรคต้อกระจก คือมองเห็นภาพเป็นหมอกหรือควันบัง หลังอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป แต่อาจเป็นเร็วขึ้นกรณีมีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 390 ตุลาคม 2554
    โรคสะเก็ดเงินคืออะไรสะเก็ดเงิน (psoriasis) เป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อย เป็นได้ทุกเพศทุกวัย พบราวร้อยละ ๒ ของประชากรทั่วไป อาจมีปัจจัยทางพันธุกรรมมาเกี่ยวข้องเพราะมักพบประวัติครอบครัวโรคนี้ไม่ใช่โรคติดต่อ และไม่ได้เกิดจากภูมิแพ้โรคนี้มักเริ่มเป็นในช่วงวัยรุ่นตอนปลายและช่วงอายุ ๔๐-๕๐ ปี เพศหญิงและชายพบได้เท่าๆ กันโรคนี้อาจเป็นน้อยจนผู้ป่วยเองอาจไม่สังเกตเห็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ไข้หวัดเป็นโรคติดเชื้อยอดฮิตสำหรับทุกคน นับว่าเป็นโรคที่เป็นเองหายเอง โดยไม่จำเป็นต้องใช้ยาอะไรพิเศษ ยาจำเป็นคือพาราเซตามอล ลดไข้ แก้ปวด เฉพาะเมื่อมีไข้สูงหรือปวดศีรษะข้อผิดพลาดคือ มีการใช้ยาปฏิชีวนะเกินจำเป็นอย่างพร่ำเพรื่อ ซึ่งไม่เพียงไม่ได้ประโยชน์ เนื่องจากมันไม่ได้มีส่วนฆ่าเชื้อไวรัสหวัดที่เป็นสาเหตุแล้ว ยังอาจทำให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาง่าย แพ้ยาง่าย และทำให้ร่างกายอ่อนแอตามมาได้ดังนั้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    “ตาต้อ” เป็นกลุ่มของโรคตา “ต้อ” ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ฉบับนี้ มาทำความรู้จัก “ตาต้อ” กันดีกว่า๑.โรคต้อของตามีกี่โรค และมีความแตกต่างกันอย่างไรตอบ คำว่าต้อเป็นคำทั่วไปหมายถึงตา ดังนั้น เมื่อบอกว่าเป็นโรคต้อ ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นโรคต้อชนิดใด ที่พบบ่อยๆ และควรทราบ เรียงลำดับตามความรุนแรงจากน้อยไปมาก ดังนี้๑.โรคต้อลม (Pinguecular)มีลักษณะเป็นเยื่อสีขาวหรือขาวเหลืองบริเวณตาขาวข้างๆ ตาดำ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 389 กันยายน 2554
    ปัจจุบันยาลดกรดในกระเพาะอาหารขายดีเป็นเทน้ำเทท่า ส่วนใหญ่มีการโฆษณากันอย่างแพร่หลาย พร้อมกันนั้นก็เกิดโรคกรดไหลย้อนแพร่ระบาดไปทั่ว แม้แต่ชาวบ้านที่ห่างไกลความเจริญก็พบว่ามีไม่น้อยที่ต้องกินยาลดกรดอย่างแรงเป็นประจำ เพราะแพทย์สั่งให้และบอกว่าเป็นโรคนี้ แต่พอให้ผู้ป่วยอธิบายว่าโรคกรดไหลย้อนคืออะไรและมีอาการอย่างไร ทำไมต้องกินยาแบบนี้ ตัวผู้ป่วยเองก็มักจะตอบไม่ได้โรคกรดไหลย้อน (GERD) คือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 384 เมษายน 2554
    วันเวลาที่ผ่านล่วงเลยไป จากวัยเด็ก สู่วัยผู้ใหญ่ และผ่านเข้าสู่วัยสูงอายุ ดวงตาเป็นอวัยวะสำคัญที่ต้องได้รับการดูแล เพื่อให้สามารถมองโลกที่สดใสได้ตลอดไป การเปลี่ยนแปลงหรือความเสื่อมอาจเกิดขึ้นกับส่วนต่างๆ ของตา ทำให้เกิดโรคทางตาในผู้สูงอายุ โรคทางตาที่ควรรู้จักเพื่อรักษาสุขภาพตาของผู้สูงอายุให้อยู่ได้นานที่สุด ดังนี้ ๑.โรคต้อกระจก โรคต้อกระจก (cataract) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 383 มีนาคม 2554
    เมื่อกล่าวถึงโรคต้อหิน หลายคนมักเข้าใจว่าเป็นโรคที่รักษาไม่ได้ มีแต่ทรงกับทรุด และจะต้องตาบอดในที่สุด ความเข้าใจเหล่านี้อาจยังไม่ถูกต้องนัก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันซึ่งมีการพัฒนาเทคโนโลยี และเครื่องมือที่ทันสมัยในการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคต้อหิน ...