โรคระบบไหลเวียนโลหิต

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 374 มิถุนายน 2553
    “เวลาเดินไปสัก ๓๐-๔๐ เมตรจะมีอาการปวดน่อง ต้องหยุดสักพัก ค่อยเดินต่อได้ นึกว่าเป็นอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ได้กินยาคลายกล้ามเนื้อ ก็ไม่ดีขึ้น เป็นมาได้หลายเดือนแล้ว คุณหมอคิดว่าอาการที่เป็นนี้เกิดจากโรคอะไร”วันหนึ่ง คุณลุงวัยร่วม ๗๐ ปีที่ผมรู้จักมักคุ้นในสวนสุขภาพที่ผมไปเป็นประจำได้ปรึกษาผมถึงปัญหาดังกล่าวคุณลุงมีรูปร่างค่อนข้างท้วม เป็นเบาหวานมา ๔-๕ ปี หาหมอและกินยาไม่สม่ำเสมอ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 368 ธันวาคม 2552
    หากจะพูดถึงโรคความดันโลหิตสูง เชื่อว่าผู้อ่านคงคุ้นเคย เพราะเป็นปัญหาที่พบบ่อย แต่ก็เป็นสิ่งที่เข้าใจผิดกันได้บ่อยๆ ทั้งหมอและคนไข้ ที่ว่าเข้าใจผิดนั้นไม่ได้หมายความว่าตัวเลขความดันโลหิตเท่าไหร่ที่จัดว่าสูง เพราะโดยทั่วไปก็เข้าใจกันถูกต้องอยู่แล้วว่าถ้าตัวเลขสูงเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท ก็จะถือว่ามีความดันโลหิตสูงกว่าปกติ แต่ปัญหามักจะอยู่ตรงที่ว่า เมื่อไหร่ถึงจะเรียกว่าป่วยเป็น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 356 ธันวาคม 2551
    ผู้เขียนได้เขียนเรื่องหัวใจกับการออกกำลังกายในหมอชาวบ้านฉบับก่อน ได้อธิบายการทำงานของหัวใจเพียงอย่างเดียว ว่าด้วยเรื่องของระบบหลอดเลือดและความดันในหลอดเลือด ระบบหัวใจและหลอดเลือดเปรียบได้กับระบบประปาในบ้าน เครื่องปั๊มน้ำคือหัวใจ ส่วนท่อน้ำประปาก็เปรียบได้กับหลอดเลือดแดง ท่อน้ำทิ้งเปรียบเหมือนหลอดเลือดดำ น้ำประปาก็คือเลือด ความต่างอยู่ตรงที่ว่าร่างกายนำเลือดดำกลับมาฟอกที่ปอด ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    มะนาว (lime) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Citrus aurantifolia Swingวงศ์ส้มหรือ Rutaceae ชื่ออื่นคือ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 346 กุมภาพันธ์ 2551
    ถุงน่องรักษาเส้นเลือดขอด... ได้จริงหรือปัญหาเส้นเลือดขอดที่เกิดขึ้นที่ขาหรือน่อง เป็นสิ่งที่พบเห็นกันมากขึ้นเรื่อย ๆ และมักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยส่วนมากสาเหตุเกิดมาจากการทำงานที่ต้องยืน เดิน นาน ๆ แต่ก็อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ได้ เช่น ความอ่อนแอของโครงสร้างผนังเส้นเลือดดำและลิ้นบาง ๆ ที่อยู่ภายในเส้นเลือดซึ่งมักจะสืบทอดทางกรรมพันธุ์ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 330 ตุลาคม 2549
    แพ้ยาลดความดันเลือดหญิงไทยอายุ ๘๘ ปี ถูกพามาห้องฉุกเฉินด้วยอาการเวียนศีรษะหน้ามืด และล้มลงมา ๑ ชั่วโมงลูกผู้ป่วย : "สวัสดีครับคุณหมอ คุณแม่เป็นอะไรไม่รู้ หลังกินข้าวเที่ยงเสร็จ ลุกจากโต๊ะอาหารเดินไปที่โซฟาหน้าทีวี แล้ววูบล้มลง ดีที่ผมอยู่ใกล้ๆ จึงคว้าตัวคุณแม่ไว้ทัน แล้วอุ้มคุณแม่นอนลงที่โซฟา สักพักคุณแม่ก็ดีขึ้น แต่พอลุกขึ้นนั่ง ก็เวียนหัว และรู้สึกจะวูบอีก พอให้คุณแม่นอนลงก็ดีขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    ให้เลือดตัวเอง ความปลอดภัยที่คุณเลือกได้การได้รับเลือดจากผู้อื่น แม้จะมีมาตรฐานด้านคุณภาพดีเพียงใด ก็ไม่อาจพูดได้ว่า "ได้เลือดปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์" เพราะเทคโนโลยีการตรวจทางห้องปฏิบัติการยังมีข้อจำกัดความไม่ปลอดภัยส่วนหนึ่งเกิดจากการได้รับเชื้อโรคที่ติดต่อจากการให้เลือด นอกจากนั้นยังเกิดจากปฏิกิริยาจากหมู่เลือดและแอนติบอดี หมู่เลือดหลักของคนที่สำคัญคือ ระบบ A B O ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    บัตรทองคุ้มครองผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย"ฮีโมฟีเลีย" หรือ "โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก" เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากแม่สู่ลูกผู้เป็นโรคนี้เลือดจะออกง่ายและหยุดยาก โดยเฉพาะในข้อหรือกล้ามเนื้อคนไทยกว่า ๔,๐๐๐ คนกำลังผจญโรคนี้ โรคเลือดออกง่ายหยุดยากมี ๒ ชนิดคือ โรคฮีโมฟีเลียเอ (พบมากกว่า) เกิดจากการขาดปัจจัยการแข็งตัวในเลือดชื่อว่าแฟกเตอร์แปด และโรคฮีโมฟีเลียบี ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 329 กันยายน 2549
    ความดันเลือดสูง ควรปฏิบัติตัวอย่างไรถาม : ชวลิต/นครพนมความดันเลือดของคนเราที่เหมาะสมคือเท่าไร และเมื่อมีความดันเลือดสูงแล้วควรปฏิบัติตนอย่างไร ตอบ : นพ.สันต์ หัตถีรัตน์ค่าความดันเลือดของแต่ละคนจะแตกต่างกันออกไป เมื่อมีอายุมากขึ้นความดันเลือดจะสูงขึ้น หรืออาจเปลี่ยนแปลงได้ในเวลาต่างกัน เช่น เวลาเครียดความดันจะสูงขึ้น ความดันเลือดของคนปกติขณะพัก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 328 สิงหาคม 2549
    ทางด่วนชีวิต กล้ามเนื้อหัวใจตาย-เสี้ยวนาทีแห่งชีวิต"บันทึกประสบการณ์จากผู้เยี่ยมสำรวจสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสะท้อนความรู้สึกดีๆ ที่คุณหมอ (บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข) มุ่งมั่นพัฒนา เพื่อให้คนไข้ปลอดภัย หายจากโรค และมีความสุข"โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เกิดจากหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ...