โรคระบบไหลเวียนโลหิต

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 326 มิถุนายน 2549
    ป้องกันมาลาเรียถาม : นารี/สมุทรปราการลูกชายจะไปเข้าค่ายที่จังหวัดจันทบุรี ๓ วัน ได้ข่าวว่าที่นั่นก็คือพื้นที่ชุกชุมของไข้มาลาเรีย ดิฉันต้องการทราบว่า จะป้องกันไม่ให้ลูกชายติดไข้มาลาเรียได้อย่างไร ตอบ : นพ.รักษ์พงศ์ เวียงเจริญก่อนอื่นขอบอก ณ ตรงนี้เลยว่า พื้นที่ชุกชุมไข้มาลาเรียมีหลายจังหวัด เช่น ตาก สุราษฎร์ธานี กาญจนบุรี ยะลา จันทบุรี แม่ฮ่องสอน นครศรีธรรมราช กระบี่ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 325 พฤษภาคม 2549
    เครียดกับความดันเลือดสูงกลไกความสัมพันธ์ระหว่างความดันเลือดสูงกับความเครียดเฉียบพลัน ผ่านการกระตุ้นมาจากระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเทติก ทำให้การเต้นของหัวใจเร็วขึ้นและความดันเลือดสูงขึ้น ความเครียด คือสภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าจากภายนอก (รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส) และภายใน (สิ่งที่ใจนึกคิด) มากระทบ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จนเสียสมดุลก่อให้เกิดการปรับตัวเพื่อจัดการกับสิ่งเร้าต่างๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    คำว่า "เป็นลม" ในที่นี้หมายถึงอาการอยู่ๆก็หมดสติทรุดลงกับพื้น ซึ่งเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน และเป็นอยู่ชั่วประเดี๋ยวเดียว ก็ฟื้นคืนสติได้เป็นปกติ มีสาเหตุได้ต่างๆ ถ้าพบในคนอายุต่ำกว่า ๓๐ ปี มักเกิดจากสาเหตุที่ไม่ร้ายแรง แต่พบในคนสูงอายุ อาจจะเกิดจากสาเหตุร้ายแรง เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้นชื่อภาษาไทย เป็นลม ชื่อภาษาอังกฤษ Syncope, Faintingสาเหตุ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    ไข้กาฬหลังแอ่นไข้กาฬหลังแอ่น (ไข้กาฬนกนางแอ่น) ในพจนานุกรมได้ให้ความหมายว่า "ไข้ติดเชื้อเฉียบพลัน มีอาการไข้ซึม คอแข็ง มีอาการหลังแอ่น และมีผื่นชนิดตกเลือดใต้ผิวหนัง ต่อมาสีของผื่นจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ" ทางการแพทย์ หมายถึง โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดหนึ่งที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่มเมนิงโกค็อกคัส (meningococcal meningitis)ที่มาของชื่อ "ไข้กาฬหลังแอ่น" ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    เลือดคั่งค้างอุดกั้นชายคนหนึ่งเคยถูกรถจักรยานยนต์ชนบริเวณหน้าอก กระดูกซี่โครงหักไป ๓ ซี่ เมื่อ ๓๐ ปีก่อน ระยะหลายปีมานี้ จะมีอาการจุกแน่นหน้าอก เวลาดื่มไวน์ร่วมกับกินข้าวอิ่ม มีอาการหน้าแดง-ม่วงคล้ำ ใจสั่น ชีพจร ๑๓๐ ครั้ง/นาที เคยไปตรวจที่โรงพยาบาลหลายแห่ง ดูคลื่นหัวใจ วิ่งสายพาน ใส่สายสวนหัวใจ ก็ไม่พบความผิดปกติอะไร ผู้ป่วยจะมีตำแหน่งปวดที่แน่นอน ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    การผ่าตัดหัวใจหัวใจของคนเราทำงานอย่างไร?ทำไมต้องทำทางเบี่ยง ลิ้นหัวใจเทียม หัวใจเทียม?"เป็นไปไม่ได้หรอกที่เราจะผ่าตัดเข้าไปทำอะไรกับหัวใจ""การผ่าตัดหัวใจไม่ว่าด้วยวิธีไหนก็ไม่มีทางที่จะเป็นไปได้" ศัลยแพทย์ชาวเยอรมันประสบความสำเร็จในการ เย็บแผลฉีกขาดที่หัวใจ เมื่อ ๑๐๐ ปีที่แล้วรู้จักการทำงานของหัวใจหัวใจคนเรามีทั้งหมด ๔ ห้องและเกี่ยวข้องกับลิ้นหัวใจอยู่ ๔ ลิ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ไข้เลือดออกป้องกันได้นายแพทย์สุชัย เจริญรัตนกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วยนายแพทย์ธวัช สุนทราจารย์ อธิบดีกรมควบคุมโรค ร่วมกันแถลงข่าวสถานการณ์โรคไข้เลือดออก และมาตรการป้องกันว่า ตั้งแต่ ๒ มกราคม ๒๕๔๘ ถึงวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ๑๓,๑๕๘ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๑.๒๓ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๒๓ รายนายแพทย์สุชัย กล่าวว่า ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    โรคคาวาซากิ (Kawazaki disease)ผู้ถาม : สุทธิพงษ์/กาญจนบุรีผมมีปัญหาอยากจะขอเรียนถามคุณหมอเกี่ยวกับ "โรคคาวาซากิ" ครับว่าโรคนี้มีความเป็นมาอย่างไรอาการแสดงของโรคเป็นอย่างไรถ้าเป็นแล้วสามารถรักษาได้ไหมขอความกรุณาคุณหมอช่วยตอบด้วยนะครับผู้ตอบ : พญ.ดารารัตน์ สัตตวัชราเวชพบครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๐ โดย นพ. Tomisaku Kawazaki ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ตัวอย่างผู้ป่วยที่ต้องรักษา "คน" ให้ได้ก่อน "ไข้"ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ ๒๙ในช่วงเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๘ ข่าวไข้เลือดออกระบาดในประเทศไทยได้รับความสนใจสูงสุดเมื่อมีการแถลงข่าวการป่วยของ ด.ช.ภูมิภัทร ผลสมบูรณ์โชค หรือ "น้องภูมิ" ซึ่งป่วยหนักด้วยโรคไข้เลือดออกจากเชื้อเดงกี่ (Dengue hemorrhagic fever) ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 314 มิถุนายน 2548
    วันนี้...คุณเดินครึ่งชั่วโมงแล้วหรือยังทุกวันนี้ คนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด (โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน/อัมพาต) โรคเบาหวาน และโรคมะเร็งกันมากขึ้นกว่าเดิม สถิติอัตราป่วยด้วยโรคหัวใจเพิ่มขึ้นจาก ๒๙๒ รายต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ.๒๕๔๓ เป็น ๔๕๑ ต่อแสนคนในปี พ.ศ.๒๕๔๖ โรคเบาหวานเพิ่มจาก ๒๕๗ เป็น ๓๘๑ ต่อแสนคน โรคมะเร็งเพิ่มจาก ๗๒ เป็น ๑๐๒ ต่อแสนคนในเวลา ๓ ปี ทุกๆ ๖ นาที ...