โรคระบบไหลเวียนโลหิต

  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 6)ในร่างกายของเรามีอวัยวะต่างๆ มากมายที่อาจเกิดอาการเลือดออกได้ บางแห่งอาจจะไม่มีบาดแผลแสดงให้เห็นแต่ก็เกิดอาการเลือดออกจนคนที่เจอปัญหานี้ไม่รู้ว่าควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร หากอยากรู้ติดตามต่อได้เลยครับ7. ไอเป็นเลือดหรือขาก เป็นอาการเลือดออกทางปากอีกอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้เกิดจากบาดแผลโรคในปาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    ไข้ทับระดู- ระดูทับไข้“คุณหมอคะ น้องสาวดิฉันที่คุณหมอฉีดยาแก้ไข้ไปเมื่อตะกี้นี้ พอกลับถึงบ้าน คุณแม่ดิฉันและเพื่อนบ้านต่างพูดใส่หูว่า เป็นไข้ทับระดู โบราณเขาห้ามฉีดยา ฉีดแล้วจะเป็นอันตรายน้องสาวตกใจหน้าซีดเลย ไม่ทราบว่าจะเป็นอะไรตามที่เขาว่าหรือเปล่าคะ?” ญาติคนไข้พาคนไข้กระหืดกระหอบกลับมาหาหมอหมอซักถามและตรวจดูอาการคนไข้ซ้ำอีกรอบ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 169 พฤษภาคม 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 5)อาการร้อน ๆ ของเดือนเมษา-พฤษภานี้ทรมานดีแท้ แล้วอาการยอดฮิตในหน้าร้อนอีกอาการหนึ่ง ก็คือเลือดออกที่จมูกหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เลือดกำเดา ซึ่งก็ได้นำการวินิจฉัยและการรักษาอย่างง่ายๆ มาเสนอดังต่อไปนี้5. เลือดออกที่จมูก : ถ้าเลือดออกจากบาดแผลภายนอกจากการถูกของมีคม การแกะ การบีบสิวเสี้ยนหรืออื่นๆ ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 168 เมษายน 2536
    ทำฟัน...เสี่ยงเอดส์แค่ไหน“พ่อ ทำไมไม่ไปทำฟันสักทีล่ะ” แม่บ้านถามด้วยความเป็นห่วง“ยังหรอก อีกสักพักหนึ่ง ไม่ค่อยว่าง” พ่อบ้านตอบ ลากเสียงยาวๆ ตอนท้าย“เอ...แต่นี่หมอเขามีจดหมายมาตั้งเดือนและนะ” แม่บ้านย้ำเสียงหนักๆ“ก็รู้แล้ว...แต่ว่า...” พ่อบ้านตอบแบบไม่ค่อยเต็มเสียงนัก“แต่อะไรหรือคะ...ไหนว่าหุ้นตกงานน้อยลงแล้วไม่ใช่หรือคะ” ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 167 มีนาคม 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 3)การรักษาอาการเลือดออกนั้นใช่ว่าจะมีเพียงแค่บาดแผลที่ทำให้มีเลือดไหลออกนอกร่างกายเท่านั้น แต่ยังรวมถึงอาการที่มีเลือดออกภายในร่างกายด้วย ซึ่งจะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการนั้นและจะมีวิธีการรักษาที่แตกต่างกันออกไป ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้เพื่อให้การตรวจรักษาอาการเลือดออกเป็นไปตามอาการเลือดออกที่พาผู้ป่วยมารักษา ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 166 กุมภาพันธ์ 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 2)ฉบับปฐมฤกษ์ของเรื่องราวการตรวจรักษาอาการผู้ป่วยที่มีอาการเลือดออก หรือในฉบับก่อนนั้นได้กล่าวถึงลักษณะอาการเลือดออกในรูปแบบต่างๆ ไปแล้ว พร้อมกับนำเสนอขั้นตอนแรกของการปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหนักหรือฉุกเฉินที่ต้องเสียเลือดมาก โดยการห้ามเลือดทันที และขั้นต่อไปก็คือก.2 รีบช่วยชีวิตผู้ป่วยไว้ก่อน โดย1. ให้ผู้ป่วยนอนราบลงกับพื้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนจบ)มาถึงฉบับนี้ การตรวจรักษาอาการเลือดออกคงเหลืออีก5 สาเหตุสุดท้าย คือ เลือดออกในช่องคลอด เลือดออกด้านหลังท้อง เลือดออกในเชิงกราน เลือดออกในข้อ และเลือดออกจากกระดูกหักสำหรับผู้ที่ติดตามมาตลอดคงจะทราบและพอจะวินิจฉัยอาการเลือดออกได้ด้วยตนเอง และสามารถจะดำเนินการขั้นต่อไปได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อให้การตรวจรักษาอาการเลือดออกสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 165 มกราคม 2536
    การตรวจรักษาอาการ “เลือดออก” (ตอนที่ 1)อาการเลือดออก (blooding หรือ hemorrhage) หมายถึง การที่เลือดไหลออกนอกหลอดเลือด (เส้นเลือด) ซึ่งบางครั้งก็เห็นได้ชัด โดยเฉพาะในกรณีที่เลือดไหลออกจากบาดแผลที่ผิวหนัง ซึ่งจะเห็นเป็นน้ำสีแดงข้นๆ อาจจะเป็นสีแดงสดหรือสีแดงคล้ำๆ ไหลออกจากบาดแผลถ้าเป็นสีแดงสด แสดงว่า เลือดที่ออกนั้นออกจากหลอดเลือดแดง (artery) หรือหลอดเลือดฝอย (capillary) มีออกซิเจนมาก ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 159 กรกฎาคม 2535
    โรคหัวใจขาดเลือดข้อน่ารู้1.หัวใจของคนเราทำหน้าที่เหมือนเครื่องปั๊มน้ำ เพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย ตัวมันเองประกอบด้วยกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อที่ต้องการเลือดไปเลี้ยงเช่นเดียวกับอวัยวะส่วนอื่นๆ หลอดเลือดที่นำเลือดไปเลี้ยงหัวใจ ภาษาหมอเรียกว่า หลอดเลือดหัวใจ หรือ หลอดเลือดโคโรนารี (coronary artery) ซึ่งมีอยู่หลายแขนง แต่ละแขนงจะแยกกันไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจส่วนต่างๆ2. ...
  • นิตยสารหมอชาวบ้าน 157 พฤษภาคม 2535
    เอสแอลอี- โรคภูมิแพ้ต่อตัวเองข้อน่ารู้1. เอสแอลอี ชื่อโรคประหลาดนี้เรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษจากคำว่า SLE ซึ่งย่อมาจาก “Systemic lupuserythematosus” (ซิสเตมิก-ลูปัส-อีริทีมาโตซัส) เนื่องจากชื่อเต็มนี้ยาวและเรียกยาก ฝรั่งจึงนิยมเรียกว่า SLE แทน ไทยเรายังหาคำที่เหมาะๆไม่ได้ จึงเรียกทับศัพท์ว่า เอสแอลอี ...