ระบบทางเดินอาหาร (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    การวินิจฉัยโรคกรดไหลย้อนในประเทศทางตะวันตก ผู้ป่วยที่มาด้วยอาการแสบร้อนหน้าอกและเรอเปรี้ยว โดยที่ไม่มีอาการอื่นๆ ของกระเพาะอาหารหรือลำไส้ร่วมด้วยจะมีโอกาสเป็น โรคกรดไหลย้อนได้มาก77 แต่ถ้ามีอาการอื่นๆ ของทางเดินอาหารร่วมด้วยจะมีโอกาสเป็นกรดไหลย้อนน้อยลง ส่วนในประเทศไทยเนื่องจากอาการแสบร้อนหน้าอกพบได้บ่อยน้อยกว่าผู้ป่วยในประเทศทางตะวันตก59 ...
  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    การให้เซรุ่มแก้พิษงู (antivenom)Q เซรุ่มแก้พิษงูและแหล่งผลิตA ปัจจุบันมีเซรุ่มแก้พิษงูในประเทศไทยแบบ monovalent antivenom รวม 7 ชนิดซึ่งผลิตจาก สถานเสาวภา โดย 3 ชนิดมีผลิตทั้งจากสถานเสาวภาและองค์การเภสัชกรรม (#)¾ งูเห่าไทย (Cobra, Naja kaouthia) #¾งูจงอาง (King cobra, Ophiophagus hunnah)¾งูสามเหลี่ยม (Banded krait, ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    อาการปวดท้องช่วงบนยังคงเป็นปัญหาที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ แต่กลับมักถูกมองข้ามความสำคัญ ไม่ค้นหาสาเหตุที่แท้จริง ทำให้อาการไม่ดีขึ้นหรืออาจเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาสร้างความกังวลใจให้กับทั้งสองฝ่าย เนื่องจากแพทย์เองก็ไม่มั่นใจในแนวทางการรักษาของตนว่าครบถ้วนเหมาะสมตามยุคสมัยหรือไม่ และผู้ป่วยก็ไม่ได้รับคำแนะนำที่ถูกต้องในอาการที่มีอยู่เพื่อสร้างความมั่นใจ.Dyspepsia ...
  • วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    Baxter NN, et al. Association of Colonoscopy and Death From Colorectal Cancer. Ann Intern Med 2009; 150:1-8.ที่ผ่านมายังไม่มีหลักฐานจากการวิจัยแบบ randomized trial ที่พิสูจน์ว่าการตรวจ colonoscopy เพื่อคัดกรองมะเร็งลำไส้นั้น ช่วยทำให้คนรอดชีวิตมากขึ้นเท่าใด ล่าสุดนักวิจัยชาวแคนาดาได้ศึกษา population-based case-control study เพื่อดูความสัมพันธ์ดังกล่าว กลุ่ม case ...
  • วารสารคลินิก 287 ตุลาคม 2551
    Q  :  GIST คือ อะไรA  :  GIST ย่อมาจาก Gastrointestinal Stomal Tumor เป็น mesenchymal tumor ที่พบได้บ่อยที่สุดของทางเดินอาหาร โดยในอดีตมักถูกวินิจฉัยผิดเป็น leiomyoma หรือ leiomyosarcoma เนื่องจาก ตำแหน่งการเกิดอยู่ในชั้น muscularis propria และมีลักษณะทาง morphology คล้ายกับ smooth muscle neoplasm.1 ต่อมาเมื่อมีการค้นพบ C-KIT protein (CD117) และพบว่า GIST มีการ ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    อหิวาตกโรคเป็นโรคติดต่อทางอาหารและน้ำที่ทำให้เกิดอาการอุจจาระร่วงเฉียบพลัน มีผล ให้ร่างกายเสียของเหลวไปทางอุจจาระปริมาณมากและรวดเร็ว จนเกิดภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง. ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาทางกระทรวงสาธารณสุขเรียกโรคนี้ว่า "โรคอุจจาระร่วงอย่างแรง" โดยอาศัยอาการและคุณสมบัติของเชื้อที่เป็นสาเหตุการระบาดในประเทศไทยว่า มีสาเหตุจากเชื้อ Vibrio cholerae O1 ไบโอไทป์ El Tor ไม่ได้เกิดจาก V. ...
  • วารสารคลินิก 282 มิถุนายน 2551
    การกลืนสิ่งแปลกปลอมลงสู่ทางเดินอาหารสามารถพบได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เด็กมักกลืนโดยไม่ตั้งใจ มักพบในกลุ่มอายุ 1-5 ปี.1,2 ผู้ใหญ่สามารถพบได้โดยที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ โดยกลุ่มที่มีความเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงวัย, ผู้มีความรู้สึกตัวผิดปกติ (เช่น dementia, เสพติดสารมึนเมา เป็นต้น), ผู้ที่ใส่ฟันปลอม3 (ความรู้สึกบริเวณเพดานปากลดลง ทำให้อาจจะกลืนสิ่งแปลกปลอมได้โดยไม่รู้สึก), ผู้ป่วยทางจิต และนักโทษ1,3,4 ...
  • วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    Q อยากทราบว่าในคนปกติจำเป็นต้องไปตรวจสุขภาพตาเป็นประจำหรือไม่ หรือในกรณีใดจึงต้องไปพบจักษุแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพตารัชดาภรณ์ ตันติมาลาA การตรวจสุขภาพตาจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถตรวจพบความผิดปกติของตาได้ตั้งแต่ในระยะต้น ซึ่งอาจสามารถทำให้ได้รับการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อปล่อยให้เป็นโรคตาในระยะรุนแรง แนวทางการตรวจสุขภาพตาที่แนะนำได้แก่- สังเกตลูกของเราด้วยตัวเราเอง ถ้ามีลักษณะลูกตาผิดปกติ ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    สาเหตุของการอาเจียนโดยทั่วไปมักแบ่งลักษณะการอาเจียนเป็น 2 กลุ่มดังนี้1. Nonbilious vomiting ไม่ว่าการอาเจียนจะมีสาเหตุจากอะไรก็ตาม จะมีสิ่งที่อยู่ในลำไส้เล็กไหลย้อนกลับเข้าไปในกระเพาะอาหาร แต่ถ้าสาเหตุนั้นไม่ได้เกิดจากภาวะลำไส้อุดกั้นที่ต่ำกว่า ampulla of Vater มักจะยังมี antegrade intestinal flow ทำให้น้ำดีส่วนใหญ่ไหลลงสู่ลำไส้เล็ก ดังนั้นสิ่งที่อาเจียนออกมาจึงไม่มีน้ำดีปน กลุ่มโรคที่ทำให้มี ...
  • วารสารคลินิก 258 พฤษภาคม 2549
    Q  :  แผลปริที่ทวารหนัก คืออะไรA  :  คือแผลที่ขอบหรือปากทวารหนักลักษณะเป็นรอยปริเกิดขึ้นบริเวณขอบทวารหนัก ...