ออกกำลังกาย (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    (Christopher M. O'Connor et al. Efficacy and Safety of Exercise Training in Patients With Chronic Heart  Failure, Efficacy and Safety of Exercise Training in  Patients With Chronic Heart Failure JAMA 2009;301:1439-50. และ Kathryn E. Flynn et al. Effects of Exercise Training on Health Status in Patients With Chronic Heart Failure, HF-ACTION Randomized Controlled Trial JAMA ...
  • วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    Disclaimer : รายงานการศึกษาวิจัยทางการแพทย์มีมากมายมหาศาล ในขณะนี้เป็นสิ่งที่ต้องติดตามเป็นอย่างยิ่ง คอลัมน์นี้ได้สรุปรายงานการศึกษาที่น่าสนใจที่ลงในวารสารทางการแพทย์ที่ผ่าน peer review มาให้สมาชิกทราบ แต่ข้อพึงระวังคือ ไม่ใช่ว่าทุกอย่างที่มีการรายงานการศึกษาจะมีความถูกต้องเป็น สัจจะ เพราะไม่มีอะไรถูกต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ในทางการแพทย์ ความรู้ ความเชื่อ ณ วันนี้อาจได้การยอมรับ แต่ความรู้ใหม่ๆ ...
  • วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
        รอง ผอ.รพ.รร.6(2) ...
  • วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    นิยามMild Cognitive Impairment (MCI) เป็นกลุ่มอาการที่ประชานหรือ cognition1 เริ่มเสื่อม เกินกว่าที่ควรจะเป็นสำหรับคนที่อายุและระดับการศึกษานั้นๆ แต่อาการมักจะไม่เป็นอุปสรรคต่อกิจกรรมในชีวิตประจำวันนัก2 คำว่า "ประชาน" มีรากศัพท์มาจากคำว่า "ชา" ซึ่งมีความหมายว่า รู้ หรือเก่ง ส่วน "ประ"- เป็นคำที่ใช้เติมหน้าเพื่อเน้นความหมายและ-น ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    ความเป็นมาการให้ความสำคัญของจิตใจในการรักษา  โรค และความเจ็บป่วยต่างๆนั้น ถือเป็นแนวคิดหลักที่สำคัญของการแพทย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งการแพทย์จีน อินเดีย และการแพทย์ของประเทศตะวันตก.อย่างไรก็ตามในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 หรือราว 300 ปีก่อน การ แพทย์แผนตะวันตกได้เริ่มแยกองค์ประกอบด้านจิตใจและอารมณ์ออกจากด้านร่างกาย โดยเป็นผลจากการกำหนดทิศทางของวิทยาศาสตร์ขึ้นใหม่ใน ยุค Renaissance ...
  • วารสารคลินิก 256 เมษายน 2549
    Sherman KJ, et al. Comparing yoga, exercise, and a self-care book for chronic low back pain, A randomized controlled trial. Ann Intewrn Med 2005;143:849-56.ปวดหลังเรื้อรังเป็นอาการที่พบบ่อยโดยเฉพาะในคนชรา นอกจากการใช้ยาแก้ปวดแล้วการรักษาที่ไม่ใช้ยาที่ได้ผลบ้างก็คือ การออกกำลังกายแต่ยังไม่มีงานวิจัยที่สรุปได้ว่าการออกกำลังกายแบบใดที่ได้ผลดีกว่ากัน. ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    (Abbott RD, et al. Walking and dementia in physically capable elderly men. JAMA 2004;292:1447-53.)การเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจำ (physical activity) ช่วยป้องกันสมองเสื่อม (dementia) ในผู้สูงอายุได้ แต่การเดินเป็นการออกแรงกายแบบไม่หักโหมจะช่วยป้องกันได้หรือไม่. Abbott RD และคณะติดตามชายที่มีอายุ 71-93 ปีจำนวน 2,257 คน ซึ่งอยู่ในการศึกษา Honolulu-Asia Aging Study เริ่มระหว่างปี พ.ศ. 2534-2536. ...