การปฐมพยาบาล (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 297 กันยายน 2552
    การให้เซรุ่มแก้พิษงู (antivenom)Q เซรุ่มแก้พิษงูและแหล่งผลิตA ปัจจุบันมีเซรุ่มแก้พิษงูในประเทศไทยแบบ monovalent antivenom รวม 7 ชนิดซึ่งผลิตจาก สถานเสาวภา โดย 3 ชนิดมีผลิตทั้งจากสถานเสาวภาและองค์การเภสัชกรรม (#)¾ งูเห่าไทย (Cobra, Naja kaouthia) #¾งูจงอาง (King cobra, Ophiophagus hunnah)¾งูสามเหลี่ยม (Banded krait, ...
  • วารสารคลินิก 294 มิถุนายน 2552
    ความหมายเจ็บ ในที่นี้หมายถึง อาการปวด เจ็บ จุก แน่น หนัก แสบ เสียว เสียด เหนื่อย อึดอัด หายใจไม่ออก หรือ อาการไม่สบาย (discomfort) อื่นๆ.อก ในที่นี้หมายถึง ส่วนของร่างกายตั้งแต่ส่วนต่อกับลำคอจนถึงชายโครงทั้ง 2 ข้าง และบริเวณข้างเคียง.ฉุกเฉิน ในที่นี้หมายถึง เกิดขึ้นเฉียบพลัน/กะทันหัน และ/หรือ ทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน ความพิการ และ/หรือ ความตายได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงที ...
  • วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    Extern ศศิวิมล  :  คุณยายตกจากบ้าน  ได้รับบาดเจ็บจนกระดูกซี่โครงซี่ที่ 7 หัก (7th rib fracture) โดยในวันแรกไม่มีภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax)คุณยายได้รับยาแก้ปวดแล้วจึงกลับบ้าน. วันนี้คุณยายมาตรวจตามนัด เมื่อตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก คิดว่ามีภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด แต่แพทย์รุ่นพี่บอกว่าเห็นไม่ชัดเจน อีกทั้ง คุณยายก็ไม่แสดงอาการเหนื่อย ไม่แน่นหน้าอก ...
  • วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    การบาดเจ็บจากการถูกสัตว์หรือมนุษย์กัดเป็นปัญหาที่พบบ่อยในห้องฉุกเฉิน. ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบการเข้าใช้บริการในห้องฉุกเฉินเนื่องจากถูกสัตว์กัดประมาณร้อยละ 1 ต่อปี1-4 ที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลรามาธิบดีพบประมาณเดือนละ 60 ราย คิดเป็นประมาณร้อยละ 1 เช่นกัน. สถิติการถูกกัดที่แท้จริงย่อมมากกว่านี้ เนื่องจากหลายครั้งที่ถูกกัดแล้วผู้ ถูกกัดไม่ได้มาพบแพทย์. ...
  • วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    คำถาม ขอทราบเกี่ยวกับยาที่สามารถป้องกันไข้รูมาติกได้ผล.สมาชิกคำตอบ เมื่อเป็นไข้รูมาติกแล้วจำเป็นต้องให้ยาป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำ (secondary prophylaxis) เพื่อไม่ให้กลายเป็นโรคลิ้นหัวใจรูมาติกถาวร หรือไม่ให้โรคลิ้นหัวใจที่เป็นอยู่แล้วทรุดลง สามารถเลือกใช้ยาป้องกันอย่างใดอย่างหนึ่งดังแสดงในตารางที่ 1 การให้ยาฉีดจะมีประสิทธิภาพดีกว่ายากิน ระยะเวลาที่ต้องให้ยาป้องกันแสดงในตารางที่ 2.ตารางที่ 1. ...
  • วารสารคลินิก 239 พฤศจิกายน 2547
    การกู้ชีพเด็กขั้นสูง ตอนที่ 4 ได้กล่าวถึงขั้นตอนการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดปกติแบบหยุดสนิท (asystole) และแบบเต้นช้า(bradycardias) ไว้แล้ว. ในตอนนี้จะกล่าวถึงแบบมีคลื่นไฟฟ้าหัวใจแต่ไม่มีชีพจร (pulseless electrical activity, PEA). " มีคลื่นไม่มีชีพจร "" มีคลื่นไม่มีชีพจร"  หรือ "คลื่นเต้นไม่มีชีพจร" หมายถึง ภาวะที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจแต่ไม่มีชีพจร (pulseless ...
  • วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    หลังจากที่ทีมกู้ชีพขั้นต้นให้การกู้ชีพแล้ว ทีมกู้ชีพขั้นสูงเมื่อไปถึง นอกจากยืนยันขั้นตอน ABC (airway-breathing-chest compression) แล้ว รีบให้ออกซิเจน ติดเครื่องเฝ้าคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG monitor) และเตรียมเครื่องช็อกหัวใจ (defibrillator) ด้วย แล้ววิเคราะห์จังหวะหัวใจเต้น. ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติภาวะหัวใจเต้นผิดปกติในเด็กเกือบทั้งหมดไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจโดยตรง (เช่น กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ/พิการ ...
  • วารสารคลินิก 237 กันยายน 2547
    อุปกรณ์ช่วยการไหลเวียนเลือดในการกู้ชีพ นอกจากอุปกรณ์ช่วยการหายใจดังที่กล่าวไว้ในการกู้ชีพขั้นสูงตอนที่ 2 แล้ว อุปกรณ์ช่วยการไหลเวียนเลือดก็มีความสำคัญ อาทิ1." กระดานหลัง" (spine board, spinal board) และ " กระดานเตียง" (bedboard)"กระดานหลัง" ใช้สำหรับหามผู้ป่วยจากจุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาลหรือที่อื่น และสามารถถ่ายเอกซเรย์ผ่าน "  กระดานหลัง" ...