-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
367
พฤศจิกายน 2552
หากสังคมคือชุมชนย่อยที่เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการเปลี่ยนแปลง... เยาวชน คือแรงขับเคลื่อนส่วนหนึ่งที่จะช่วยผลักดันสังคมให้มีการเปลี่ยนแปลงที่ดี... พื้นที่และโอกาส คือสิ่งที่จะช่วยเปิดพลังความคิดสร้างสรรค์ พลังการทำดีของเยาวชนให้ปรากฏ"ทุกคนสามารถทำงานสร้างสรรค์ในแนวทางของตัวเองได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นคนดังมีชื่อเสียงใดๆ" คุณกิติมาภรณ์ จิตราทร กล่าวไว้ในงานเสวนา "เยาวชน...ตัวป่วน หรือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
367
พฤศจิกายน 2552
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จัดงาน "ใคร? ขโมยความจำ...ของฉันไป" กิจกรรมให้ความรู้ประชาชน เนื่องในวันอัลไซเมอร์โลก (World Alzheimer's Day) 21 กันยายน ที่ผ่านมา งานนี้จัดขึ้นเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคอัลไซเมอร์ ภายในงานมีการเสวนาเรื่อง "โรคสมองเสื่อม" สาธิตการทำอาหารสำหรับผู้ป่วยสูงอายุ การตรวจวัดความดันและมวลกระดูก การตรวจคัดกรองภาวะสมองเสื่อม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
ความเจ็บป่วยและโรคหลายชนิดเมื่อวินิจฉัยแล้วว่าไม่มีโอกาสรักษาให้หายได้ แม้จะด้วยวิทยาการทางการแพทย์ที่สมัยใหม่เพียงใด แต่หลายครั้งผู้ป่วยกลับหายป่วยได้ด้วยการรักษาจาก "ใจ" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
เต้านม เป็นอวัยวะผู้หญิงที่รวมกลไกอันซับซ้อน และเป็นหนึ่งในจุดอ่อนของร่างกาย แต่ปัจจุบันก็มีแนวทางป้องกันโรคร้ายที่อาจเกิดได้หลายวิธี ที่สำคัญคือการตรวจเต้านมเป็นประจำ และการตรวจด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า แมมโมแกรมที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้มีโครงการ "ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งเต้านม" โดยรณรงค์ให้สตรีอายุ 35 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
หากการใช้ชีวิตในทุกวันนี้มีแต่ความเครียด ปัญหาและความทุกข์ ให้ลองหันมาปรับวิถีชีวิตใหม่โดยการสร้างวินัยให้เกิดขึ้นแก่ตนเอง สร้างระบบระเบียบเพื่อให้ชีวิตและงานประสบความสำเร็จ ชีวิตเป็นสุขความสำเร็จในการทำงานทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ที่วินัยข้อคิดดีๆ ที่หาได้จาก www.hiso.or.th โดย ศาสตราจารย์นายแพทย์รณชัย คงสกนธ์ แห่งภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ระบุไว้ว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
นางคนึงนิจ ไชยลังการณ์ หัวหน้าหอผู้ป่วยจิตเวชเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ กล่าวถึงลักษณะและปัญหาของเด็กออทิสติกว่า เด็กออทิสติกมีความบกพร่องทางพัฒนาการทั้งด้านภาษา สังคมและพฤติกรรม ทำให้ไม่สามารถดูแลตนเองด้านกิจวัตรประจำวัน และการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ ซึ่งโรคนี้ยังหาสาเหตุของโรคที่แน่นอนไม่ได้ แต่พบได้ทั่วไปทุกเชื้อชาติ และมักพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
366
ตุลาคม 2552
นายแพทย์ประวิตร พิศาลบุตร เปิดเผยว่า ปัจจุบันพบความผิดปกติชนิดโซมาโตฟอร์มของผิวหนังบ่อยขึ้นมากความผิดปกติชนิดโซมาโตฟอร์มเป็นกลุ่มอาการที่มีอาการแสดงทางร่างกายเหมือนเป็นโรค หรือเกิดจากการบาดเจ็บ แต่หาสาเหตุที่แท้จริงว่าเป็นโรคทางกาย ทางจิตใจ หรือจากการได้รับสารไม่ได้ รวมไปถึงอาการหลายอย่าง เช่น ปวดศีรษะ ซึมเศร้า และวิงเวียนศีรษะความผิดปกติชนิดโซมาโตฟอร์มทางผิวหนังมีหลายรูปแบบ เช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
365
กันยายน 2552
รายงานประจำปีของประชากรและสังคมไทยคาดว่าอีก 20 ปีข้างหน้าด้วยวิทยาการที่ทันสมัยและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่สูงขึ้น ทำให้กลุ่มคนที่เกิดช่วงระหว่าง พ.ศ.2506-2526 จะมีอายุขัยเฉลี่ยสูงขึ้นเป็น 80 ปีขึ้นไปจากการสำรวจผู้สูงอายุในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2545 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าผู้สูงอายุ60 ปีขึ้นไปร้อยละ 8.3 มีสุขภาพที่ย่ำแย่ลงเนื่องจากถูกโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในหลอดเลือด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
365
กันยายน 2552
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดงานมอบรางวัลนัก-วิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำปี 2552 โดยมี ดร.กอปร กฤตยากีรณ ประธานมูลนิธิฯ กล่าวเปิดงานและแนะนำมูลนิธิ รวมทั้งองค์กรที่มีส่วนร่วมสนับสนุนให้มีการจัดรางวัลนี้ขึ้น จุดมุ่งหมายของการมอบรางวัลคือ ต้องการเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีความสามารถและให้ความสำคัญงานด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
365
กันยายน 2552
รองศาสตราจารย์นายแพทย์นิเวศน์ นันทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยว่าคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเขียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำแห่งหนึ่งของประเทศไทย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มีทั้งคุณภาพและคุณธรรม สร้างสรรค์งานวิจัย และบริการด้านสุขภาพแก่ประชาชนในภาคเหนือมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาถึง50 ปีวาระครบรอบ 50 ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ...