Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ดุลชีวิต

ดุลชีวิต

  • มนุษย์กับความหลากหลายทางชีวภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 195 กรกฎาคม 2538
    มนุษย์กับความหลากหลายทางชีวภาพ“พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์กำเนิดขึ้นมาในโลกจากกระบวนการตามธรรมชาติ โดยเหตุผลเช่นเดียวกันการก่อกำเนิดขึ้นของมนุษย์” ข้อความนี้คัดลอกมาจากบทความเรื่อง“สูญไปจากแผ่นดินสยามปัญหาพังทลายของทรัพยากรพันธุกรรมในประเทศไทย” นับว่าเป็นสัจธรรมที่ควรค่าแก่การเข้าใจอย่างยิ่งการที่มนุษย์พยายามคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีอยู่ในธรรมชาติให้น้อยลง ...
  • ความเครียดและสุขภาพ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 194 มิถุนายน 2538
    ความเครียดและสุขภาพอะไรเอ่ย ดีใจก็เกิดได้ เสียใจก็เกิดได้ เกิดได้ทั้งเวลาประสบ ความสมหวังและผิดหวัง (เป็นภาวะอย่างหนึ่งของร่างกายและจิตใจ)คำตอบก็คือ การเกิดภาวะเครียดนั่นเองเนื่องจากความเครียดทำให้เกิดการตอบสนองของร่างกายได้เกือบทุกส่วน ทั้งอาการทางร่างกาย และอาการทางจิตใจ แต่ไม่จำเพาะ ตัวอย่างเช่น ปวดศีรษะ ปวดคอ ปวดหลัง ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ หัวใจสั่น หายใจขัด หายใจถี่ เหงื่ออกง่าย ตกใจง่าย ...
  • อันตรายจากการออกกำลังกายเกินขนาด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 191 มีนาคม 2538
    อันตรายจากการออกกำลังกายเกินขนาดการออกกำลังกายเป็นวิธีการส่งเสริมสุขภาพที่ดีและป้องกันโรคภัยไข้เจ็บได้ แต่การออกกำลังกายที่เกินขนาดหรือวิธีการออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสมกับอายุ เพศ เวลา สถานที่ อุปกรณ์การออกกำลังกาย และสภาพของร่างกาย กลับบั่นทอนสุขภาพของร่างกาย และเกิดอันตรายขั้นร้ายแรงจนถึงกับเสียชีวิตได้ ซึ่งมักพบได้เสมอๆ และมีแนวโน้มจะสูงขึ้น ...
  • การออกกำลังกายในภาวะความดันเลือดสูง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 190 กุมภาพันธ์ 2538
    การออกกำลังกายในภาวะความดันเลือดสูงเวลาที่เราไปพบแพทย์หรือไปโรงพยาบาล เป็นธรรมเนียมที่จะต้องมีการวัดความดันเลือด เพื่อตรวจดูสภาพของระบบหัวใจหลอดเลือดว่าปกติหรือไม่ ความดันเลือดมีค่าสูงสุดเมื่อหัวใจบีบตัวและต่ำสุดเมื่อหัวใจคลายตัว ค่าที่ได้จึงมี 2 ค่าคือ ความดันช่วงหัวใจบีบตัว ซึ่งตามปกติไม่ควรเกิน 140 มิลลิเมตรปรอท(หมายถึงอ่านความสูงของปรอทได้ 140 มิลลิเมตร) ...
  • ธรรมชาติบำบัด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 188 ธันวาคม 2537
    ธรรมชาติบำบัดสมัยนี้ถ้าไม่พูดถึงธรรมชาติบำบัดคงถูกมองว่าล้าหลัง ไม่ทันต่อเหตุการณ์ เพราะในภาคของรัฐบาลมีการสนับสนุนด้านการเงินให้จัดสัมมนาในเรื่องธรรมชาติบำบัดอย่างสนุกสนาน ในภาคของเอกชนก็มีการโฆษณาเพื่อชักจูงให้ประชาชนไปรับการรักษาทางธรรมชาติบำบัดแต่เมื่อถามว่าธรรมชาติบำบัดคืออะไร คงยังหาคำตอบที่ชัดเจนได้ยาก ทั้งนี้ก็เช่นเดียวกับศาสตร์แขนงต่างๆ ที่รับอิทธิพลมาจากประเทศอื่น ...
  • ความเมื่อยล้าจากการทำงาน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 181 พฤษภาคม 2537
    ความเมื่อยล้าจากการทำงานอาการเมื่อยล้าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติหลังจากการทำงานทุกชนิด โดยเฉพาะงานที่ต้องออกแรงมาก เช่น การแบกหาม ยกของหนัก หรือการนั่งทำงานเป็นเวลานาน การทำงานต้องอาศัยการหดตัวของกล้ามเนื้อจึงจะเกิดแรงตามที่ต้องการได้ โครงร่างของมนุษย์ประกอบด้วย กระดูก ข้อต่อ ที่มีกล้ามเนื้อเกาะอยู่ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัว ข้อต่อจะเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อต่อนั้น ...
  • กายภาพบำบัดกับการปรับภาวะสมดุลของร่างกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    กายภาพบำบัดกับการปรับภาวะสมดุลของร่างกายการเกิดความเจ็บป่วยนั้นมีสาเหตุมาจากการที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมภาวะสมดุลภายในร่างกายได้กลไกทางภาวะสมดุลนั้นพยายามต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในร่างกายที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมภายนอกซึ่งเป็นผลจากการกินอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ การบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย การทำงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆ การทำลายจากเชื้อโรคพยาธิหรือไวรัส ...
  • การปรับร่างกายรับฤดูกาลที่มาเยือน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 176 ธันวาคม 2536
    การปรับร่างกายรับฤดูกาลที่มาเยือนการเปลี่ยนแปลงฤดูในปลายปีนี้ อาการเริ่มเปลี่ยนจากความอบอ้าวและเปียกชื้นในหน้าฝน มาเป็นอากาศที่แห้งแล้งและเย็นเยือกของหน้าหนาว เมื่อเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีร่างกายไม่แข็งแรงเกิดอาการไม่สบายและไปหาแพทย์ มักจะได้คำวินิจฉัยที่คล้ายคลึงกัน คือ เป็นหวัดหรือเป็นไข้หวัด ทั้งนี้ตั้งอยู่บนรากฐานทางระบาดวิทยาที่ว่า ช่วงการเปลี่ยนแปลงของฤดู โรคภัยไข้เจ็บที่พบบ่อย ...
  • การควบคุมอาหาร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    การควบคุมอาหารอาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต อาหารถูกนำไปเผาผลาญเป็นพลังงาน ทำให้เซลล์ภายในร่างกายทำงานได้ สิ่งมีชีวิตจึงหายใจได้ เคลื่อนไหวได้ สืบพันธุ์ได้ บางประเทศในแอฟริกา การขาดแคลนอาหารเป็นปัญหาหนักจนต้องอาศัยความช่วยเหลือจากนานาประเทศเนื่องภาวะสงครามและความแห้งแล้ง แต่ในประเทศที่กำลังพัฒนาแล้ว อาหารการกินมีมากมาย โดยเฉพาะประเทศไทย มีข้าวเหลือเฟือ เนื่องจากส่งออกไม่ได้ ...
  • สาเหตุของกระดูกหักในผู้สูงอายุ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    สาเหตุของกระดูกหักในผู้สูงอายุปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในปัจจุบัน คือ กระดูกหัก และตำแหน่งที่หักมักจะเป็นที่กระดูกสันหลัง และส่วนต้นของกระดูกต้นขาส่วนที่ต่อจากข้อสะโพก ซึ่งเรียกว่า“คอ” ของกระดูกต้นขา ในกรณีของกระดูกสันหลังหักซึ่งมีประวัติว่า ก้มลงหยิบของแล้วเกิดอาการปวดหลังมากจนนั่งไม่ได้ ต้องนอนเป็นเวลานาน และถึงแม้ไม่ได้รับการรักษาใดๆ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa