Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ร่างกายของเรา

ร่างกายของเรา

  • การรับรสของลิ้น

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    ภาพตัดขวางของลิ้นตุ่มนูนที่กระจายอยู่ทั่วลิ้นช่วยให้มีการสัมผัสกับอาหารได้ดีขึ้น ตุ่มนูนรอบลิ้นเหล่านี้ (ยกเว้น ...
  • วงจรชีวิตของเส้นผม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    สัตว์ทุกชนิดรวมทั้งคนด้วยมีการเปลี่ยนขน (ผม) ใหม่ แทนเส้นเก่า มี 3 ระยะ ในวงจรการเจริญเติบโต ได้แก่ ระยะการเจริญเติบโต แบ่งออกเป็น 2 ส่วน (รูป 1.ก และ 1.ข) ระยะการเปลี่ยนแปลง (รูปที่ 2) และระยะพักของวงจรการเจริญของผม (รูปที่ 3) เมื่อกระเปาะเส้นผม (ทำหน้าที่ผลิตเส้นผม) เสื่อมลงและหยุดทำงาน
  • ภาพแสดงหน้าตัดของศรีษะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 108 พฤษภาคม 2531
  • การดูดนมแม่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 106 มีนาคม 2531
    สายสัมพันธ์แห่งความรักที่สัมผัสได้ระหว่างแม่กับลูกในการดูดนมแม่ เป็นความผูกพันที่อบอุ่นลึกซึ้ง มีผลให้ลูกน้อยมีสุขภาพกายและใจที่สมบูรณ์เพียบพร้อม
  • ภาพแสดงรูปร่างของเซลล์ร่างกายแบบต่างๆ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 105 มกราคม 2531
    ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนล้านๆ เซลล์เซลล์ที่มีลักษณะแตกต่างกันจะทำหน้าที่ต่างกันการทำงานของอวัยวะต่างๆ จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยการประสานงานของเซลล์ และการควบคุมอย่างเหมาะสม
  • กะบังลม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 104 ธันวาคม 2530
    การหายใจเข้า เกิดขึ้นได้เนื่องจากกล้ามเนื้อกะบังลมหดตัวลง พร้อมกับทรวงอกขยายตัว ทำให้ช่องอกและปอดขยายตัวตาม ความดันภายในปอดจึงลดลง อากาศภายนอกที่มีความดันมากกว่าก็จะเคลื่อนที่เข้าไปในปอดเพื่อปรับความดันให้เท่ากันเวลาหายใจออก กล้ามเนื้อกะบังลมคลายตัว ...
  • ชีพจรที่ข้อมือ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 103 พฤศจิกายน 2530
    เมื่อหัวใจเต้น(บีบตัว)เลือดจะพุ่งออกมา(ตามหลอดเลือด) ทำให้หลอดเลือดโป่งขึ้นมาทันที ทำให้คลำได้(ที่เรียกว่าชีพจร) เมื่อหัวใจคลายตัว ชีพจรจะหายไปบริเวณที่คลำชีพจรได้เป็นบริเวณที่หลอดเลือดแดงอยู่ไม่ลึกจากผิวหนังมากนัก เช่น ...
  • สารหรือยากระตุ้นร่างกาย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    ในชีวิตประจำวัน ทุกๆวัน มีคนจำนวนไม่น้อยที่ใช้สารกระตุ้นการทำงานของร่างกายไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ตัวอย่างทั่วๆไปเช่น กาเฟอีน ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์สำคัญที่มีอยู่ในชาและกาแฟ เป็นต้น แต่นอกจากกาเฟอีนแล้ว ...
  • ต่อมธัยรอยด์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    ต่อมธัยรอยด์อยู่บริเวณคอ ด้านหน้าหลอดลมคอใต้กระดูกอ่อนธัยรอยด์ (ลูกกระเดือก) ต่อมธัยรอยด์จะสร้างฮอร์โมนที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย เป็นต้น
  • ระบบการไหลเวียนน้ำเหลือง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    ระบบการไหลเวียนน้ำเหลืองประกอบด้วยร่างแหของหลอดน้ำเหลืองขนาดเล็กกระจายอยู่ทั่วไปในร่างกาย ซึ่งจะนำเอาน้ำเหลืองที่อยู่ตามเนื้อเยื่อต่างๆ กลับเข้าสู่กระแสเลือด ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ปัญหาวิชาการ
  • ปิยวาจาทางคลินิก
  • ผิวพรรณความงาม
  • ผิวสวย หน้าใส
  • ผู้สูงอายุ…สู่ชีวิตที่มีคุณภาพ
  • ผู้หญิงกับความงาม
  • พยาบาลในบ้าน
  • พันธุ์ดี..พันธุ์ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
  • พิเศษวันเด็ก
  • พืช-ผัก-ผลไม้
  • พูดคนละภาษา
  • พูดจาประสาหมอๆ
  • พูดจาภาษายา
  • พูดจาภาษาหมอ
  • พ่อ-แม่-ลูก
  • ‹‹
  • 6 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa