Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ร่างกายของเรา

ร่างกายของเรา

  • กระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเลือดส่วนขา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 116 ธันวาคม 2541
    กระดูกขา (บนซ้าย) เป็นส่วนที่ยาวที่สุด และหนักที่สุดในร่างกาย กล้ามเนื้อ (ล่างซ้าย) เป็นส่วนที่เต็มไปด้วยพละกำลังที่ทำให้เราสามารถยืนหรือวิ่งได้ ทั้งกระดูกและกล้ามเนื้อถูกหล่อเลี้ยงด้วยหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ (ล่างขวา)
  • รหัสแห่งความตายในเซลล์

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 231 กรกฎาคม 2541
    “รหัสแห่งความตาย” ฟังดูแล้วราวกับหนังเจมส์บอนด์ประเภทฆาตกรรม สยองขวัญทำนองนั้นเลยนะครับ ลองมาติดตามกันดูสิว่า รหัสแห่งความตายในเซลล์ จะน่าตื่นเต้นสยองขวัญเพียงไร จะเหมือนเจมส์บอนด์หรือไม่ ตามผมมาเลยครับ ความรู้เรื่องการตายของเซลล์แบบถูกกำหนด ได้เริ่มครั้งแรกจาก การศึกษาหนอนตัวกลม(nematode) ซึ่งเป็นหนอนขนาดเล็กชนิดหนึ่ง (Caenorhabditis elegans) พบว่า เจ้าหนอนตัวกลมชนิดนี้ทุกๆตัว ...
  • เซลล์มหัศจรรย์แห่งธรรมชาติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 229 พฤษภาคม 2541
    ขอบคุณครับที่ให้พรแก่เซลล์ และหวังว่าเซลล์ที่อยู่ในร่างกายของท่านจะทำหน้าที่ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและก่อประสิทธิผล พร้อมด้วยจิตใจที่ดีมีคุณภาพให้เกิดขึ้นกับท่านนะครับจากนี้ผมจะพาท่านผู้อ่านไปติดตามดูว่า “เซลล์มหัศจรรย์แห่งธรรมชาติ” นั้นเป็นอย่างไร ...
  • ลำไส้เรามีขนาดใหญ่แค่ไหน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 226 กุมภาพันธ์ 2541
    ลำไส้เรามีขนาดใหญ่แค่ไหนเนื่องจากร่างกายต้องการพื้นที่พื้นผิวของลำไส้สำหรับการดูดซึมสารอาหาร ร่างกายจึงต้องแปลงสนามเทนนิสทั้งสนามมาไว้ในลำไส้ พื้นผิวของลำไส้มีมากกว่าพื้นผิวของร่างกายภายนอกถึง ๒๐๐ เท่าทางเดินอาหารในร่างกายผู้ใหญ่มีความยาวประมาณ ๙ เมตร ส่วนที่ยาวที่สุดได้แก่ลำไส้เล็ก ซึ่งมีความยามประมาณ ๗.๕ เมตร ลำไส้ใหญ่ยาวประมาณ ๑.๕ เมตร ลำไส้ใหญ่มีขนาดโตกว่าลำไส้เล็ก กล่าวคือ ...
  • ร่างกายของเราเต็มไปด้วยเส้นประสาทใช่ไหม ?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 213 มกราคม 2540
    ร่างกายของเราเต็มไปด้วยเส้นประสาทใช่ไหม ?สมองและไขสันหลังประกอบด้วยเซลล์ประสาทเกือบจะล้วนๆ เราเรียกรวมกันว่า ระบบประสาทส่วนกลาง เส้นประสาทที่ออกจากสมองและไขสันหลัง เราเรียกว่าระบบประสาทส่วนปลายเส้นประสาทที่ออกจากสมองเราเรียกว่า ประสาทสมอง (cranial nerve) มีความสำคัญต่อชีวิตมาก ประกอบด้วยประสาทตา ประสาทจมูก ประสาทหู เป็นต้นเส้นประสาทของร่างกายแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ2 ประเภทคือ 1. ...
  • เส้นประสาทคืออะไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 212 ธันวาคม 2539
    เส้นประสาทคืออะไร เส้นประสาทเปรียบเทียบได้กับระบบสายไฟฟ้าหรือโทรศัพท์ ที่ประกอบด้วยใยประสาทเส้นเล็กๆ รวมกันเป็นมัดใหญ่ ออกจากสมองไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย ทำให้มีการติดต่อกันได้เส้นประสาทประกอบด้วยเซลล์ประสาทหลายเซลล์ ซึ่งเรียกตามภาษาวิทยาศาสตร์ว่า นิวโรน (neuron) ...
  • มันสมองของเรามีรูปร่างอย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 211 พฤศจิกายน 2539
    มันสมองของเรามีรูปร่างอย่างไรถ้าเราสามารถมองผ่านเข้าไปในกะโหลกศีรษะ เพื่อดูมันสมองของเราได้ จะพบว่ามีลักษณะคล้ายเมล็ดวอลนัต(walnut)สีเทา มีหลอดเลือดสีแดงคลุมอยู่ทั่วไปเปลือกภายนอกของสมองจะมีรอยย่นอยู่ทั่วไป สมองส่วนนี้เรียกว่าเปลือกสมอง (cerebral cortex) ส่วนนี้เป็นส่วนสั่งงานและส่วนรับความรู้สึกของสมอง จะคลุมส่วนอื่นทั้งหมดคล้ายหลังคา ตรงกลางมีร่อง ซึ่งแบ่งสมองส่วนนี้ออกเป็น2 ซีก ...
  • เราได้ยินเสียงได้อย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 210 ตุลาคม 2539
    เราได้ยินเสียงได้อย่างไร หูนั้นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้รับเสียง ...
  • ทำไมเราต้องหายใจ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 209 กันยายน 2539
    ทำไมเราต้องหายใจเราหายใจเอาอากาศเข้าไปในปอด หรือถ้าจะพูดให้แคบเข้าก็คือ เอาออกซิเจนเข้าไปเลี้ยงร่างกายนั่นเอง อวัยวะทุกส่วนของร่างกายต้องการออกซิเจนเพื่อเป็นพลังงานและต้องการติดต่อกันตลอดเวลาถ้าร่างกายขาดออกซิเจน แม้ช่วงระยะเวลาไม่นานนักก็จะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ ออกซิเจนจะถูกนำไปสู่เซลล์ของร่างกายโดยเลือด เซลล์จะใช้ออกซิเจนเพื่อการดำรงชีวิตการเผาไหม้ภายในเซลล์จะเกิดในอุณหภูมิปกติ ...
  • ปัสสาวะทำมาจากไหน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 207 กรกฎาคม 2539
    ปัสสาวะทำมาจากไหนปัสสาวะคือน้ำเสียที่ร่างกายต้องการขจัดออกมาจากไต คนเรามีไต2 ข้าง วางอยู่ทางด้านหลังของช่องท้อง ข้างๆกระดูกสันหลัง มีซี่โครงซี่ล่างๆโอบล้อมอยู่ ไตแต่ละข้างยาวประมาณ 1o เซนติเมตร หนักประมาณ 14o กรัม มีรูปร่างคล้ายเม็ดถั่วที่มีส่วนโค้งข้างหนึ่งและส่วนเว้าข้างหนึ่ง ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa