นานาสาระ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
272
สิงหาคม 2550
นายแจน เกอร์เซปสกี ชาวโปแลนด์อายุ 65 ปี ตกอยู่ในภาวะโคม่า (comatose) มาตลอด 19 ปี หลังจากได้รับอุบัติเหตุทางรถไฟที่กระทบกระเทือนสมองอย่างหนักในปี พ.ศ. 2531 ในช่วงเวลาที่ประเทศโปแลนด์ยังมีการปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์. ตอนนั้นแพทย์ที่ดูแลรักษานายเกอร์เซปสกี บอกกับนาง เกอร์เซปสกี ภรรยา ว่าเขาจะมีชีวิตได้ไม่เกิน 2 ปี แต่นายเกอร์เซปสกีกลับมีชีวิตอยู่ในสภาพของเจ้าชายนิทรามานานถึง 19 ปี ...
-
วารสารคลินิก
271
กรกฎาคม 2550
โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มีภาวะซีดแบบเรื้อรังต้องได้รับการถ่ายเลือดต่อเนื่องเป็นระยะ ซึ่งจะมีความเสี่ยงต่อการมีภาวะเหล็กเกินในร่างกาย เนื่องจากในร่างกายของคนเราไม่มีกลไกในการขับเหล็กออก เหล็กที่รับเข้าไปเพิ่มจากการรับเลือดจะสะสมอยู่ในร่างกายและเป็นพิษได้.ภาวะเหล็กเกินคืออะไร? การถ่ายเลือดช่วยให้ผู้ป่วยเลือดจางแข็งแรงขึ้น ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
การผ่าตัดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radiofrequency Ablation) หรือ RFA เป็นหนึ่งในวิธีการผ่าตัดโดยใช้ความร้อน (thermal ablation) เพื่อกำจัดหรือทำลายการทำงานของเนื้อเยื่อเป้าหมาย ในปัจจุบัน RFA กำลังได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศในกลุ่มยุโรปโดยเป็นทางเลือกหนึ่งในการกำจัดเนื้อเยื่อมะเร็ง และในการแก้ไขภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ (cardiac ...
-
วารสารคลินิก
269
พฤษภาคม 2550
แพทย์ไม่ได้เรียนมาเพื่อเป็นครู ไม่ได้เรียนเพื่อเป็นผู้บริหาร แพทย์ใช้เวลา 6 ปี เรียนอย่างหนักเพื่อเป็นแพทย์ ตอนเข้าโรงเรียนแพทย์ นักเรียนที่สอบเข้าเรียนแพทย์ได้ถือว่า เป็นผู้ที่มีไอคิวสูงมากที่สุดในประเทศไทยของนักเรียนที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ในแต่ละปี. แต่ในช่วง 6 ปีที่เรียนแพทย์ นิสิตแพทย์ต้องท่อง ท่อง และท่อง ลูกเดียว จนตอนจบออกมาเป็นแพทย์เกือบไม่ค่อยมีความคิดริเริ่มของตนเอง! เพราะข้อมูล ...
-
วารสารคลินิก
268
เมษายน 2550
คำถาม แนวโน้มมะเร็งต่อมลูกหมากเป็นเช่นไรคำตอบ สถิติของโรงพยาบาลศิริราช ในปี พ.ศ. 2548 บ่งชี้ว่า จำนวนผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากรายใหม่จัดอยู่ในอันดับ 2 รองจากมะเร็งปอด ...
-
วารสารคลินิก
267
มีนาคม 2550
การแสดงปาฐกถาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี โดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษหัวข้อ "หมออาชีพ หมอมืออาชีพ"วันพุธที่4ตุลาคม พ.ศ 2549 ณ ห้องประชุมเฉลิม พรมมาส อาคาร อปรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วรพล จรูญวณิชกุล นิสิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ : ถอดความ"ขอขอบคุณท่านคณบดีและแขกผู้มีเกียรติ ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
คอมพิวเตอร์ได้มีบทบาทต่อชีวิตประจำวันของทุกคน เช่น การเรียน ทำงาน การค้นคว้า การสื่อสาร และความบันเทิง. Computer vision syndrome (CVS) เป็นกลุ่มอาการของตาและสายตาที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ อาการจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อใช้เวลากับคอมพิวเตอร์นานมากขึ้น. อาการของ Computer vision syndromeจะมีอาการเมื่อยล้าตา ปวดตา เคืองตา ตาแห้ง น้ำตาไหล ตามัว เห็นภาพซ้อน ปวดคอ ...
-
วารสารคลินิก
265
มกราคม 2550
โรคโลหิตจางพันธุกรรมธาลัสซีเมียเป็นโรคพันธุกรรมระบบเลือดที่พบบ่อยในประเทศไทย เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์โปรตีนโกลบินซึ่งเป็นโครงสร้างของเม็ดเลือดแดง ทำให้เม็ดเลือดแดงเปราะแตกง่าย. โดยปกติแล้ว เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่นำออกซิเจนที่ได้รับจากการหายใจไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น หัวใจ สมอง ไต กล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายอยู่ในสมดุล ดำเนินชีวิตไปได้อย่างปกติ เมื่อเม็ดเลือดแดงแตก ...
-
วารสารคลินิก
263
พฤศจิกายน 2549
ความต้องการวิธีวินิจฉัยโรคแต่เนิ่นๆ มีอยู่ตลอดเวลา PET-CT สแกนเป็นทางเลือกใหม่ในประเทศ ไทย มีลักษณะแตกต่างจากการตรวจถ่ายภาพอื่นๆ อาทิ CT สแกนและ MRI ดังจะได้ขยายความดังต่อไปนี้PET (Positron Emission Computed Tomography) สแกน คืออะไรPET สแกนเป็นการตรวจถ่ายภาพโดยใช้สารเภสัชที่ติดสลากกับไอโซโทปที่ให้อนุภาคโพสิตรอนปริมาณเล็กน้อยเข้าไปในร่างกาย ...
-
วารสารคลินิก
262
ตุลาคม 2549
กรณีผู้ป่วยเมื่อ 8 ปีที่แล้ว ผู้ป่วยเปิดปี๊บหน่อไม้มาแล้วทดลองกินเอง เห็นว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น จึงนำหน่อไม้ไปแจกและขาย ซึ่งผู้ที่เปิดปี๊บคือหนึ่งในผู้ซึ่งเสียชีวิตจากพิษ botulinumครั้งนี้พิษ botulinum เกิดจากเชื้อ Clostridium botulinum ซึ่งเป็น anaerobe. ในภาวะที่ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ก็จะสร้างสปอร์ ...