Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » นานาสาระ

นานาสาระ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย End-of-life care in the elderly

    วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    ปัจจุบันความก้าวหน้าในวิทยาการ ทางการแพทย์ทำให้สามารถช่วยชีวิต ผู้ป่วยให้อยู่รอดได้มากขึ้น. โดยตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา มีความเชื่อว่าวิทยาการทางการแพทย์เหล่านี้สามารถจัดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของผู้ป่วยได้อย่างราบรื่น. แต่ในความจริงแล้วเป็นสิ่งยากที่สุดที่บุคคลรอบข้าง เช่น ญาติ ครอบครัว คู่สมรส ตลอดจนบุคลากรทางการแพทย์จะรับมือกับการสูญเสีย ...
  • การให้ความรู้โรคลมชัก ด้วยปฏิทิน

    วารสารคลินิก 279 มีนาคม 2551
    โรคลมชัก เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยเป็นอันดับต้นรองจากอาการปวดศีรษะ1 แต่ผู้ป่วยโรคลมชักจะได้รับผลกระทบจากโรคลมชักมากกว่าโรคปวดศีรษะ. จากหลายๆ การศึกษาพบว่าคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคลมชักจะไม่ดี ผู้ป่วยโรคลมชักมีงานทำต่ำกว่าอาชีพอื่นๆ คู่สมรสก็มีเศรษฐฐานะต่ำกว่าคนทั่วไปและผู้ป่วยโรคอื่นๆ ถ้าเป็นเด็กก็เข้าเรียนหนังสือยาก เพราะโรงเรียนจะไม่รับ เพื่อนก็จะไม่ค่อยเล่นด้วย เนื่องจากถูกพ่อแม่ห้ามไว้ ...
  • โพรไบโอติกและพรีไบโอติก (Probiotics and Prebiotics)

    วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    ปัจจุบันมีการวิจัยเพื่อพัฒนาอาหารที่มีบทบาทไม่ใช่เพียงให้ได้สารอาหารที่เหมาะสมกับวัยเท่านั้น แต่ผลิตอาหารที่มีส่วนประกอบสมบูรณ์ขึ้นเป็นอาหารที่ทำหน้าที่ในการป้องกันโรค กระตุ้นภูมิคุ้มกันที่ทางเดินอาหารและนอกทางเดินอาหาร ส่งผลให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้น. ในการนี้นักวิชาการได้หันมาให้ความสนใจกับธรรมชาติแวดล้อมในทางเดินอาหารพบว่า จุลินทรีย์ และอาหารจุลินทรีย์ มีบทบาทดังกล่าว. โพรไบโอติกคืออะไร ...
  • โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial infection in community hospital)

    วารสารคลินิก 276 ธันวาคม 2550
    บทนำโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial infection, NI) นับเป็นปัญหาสำคัญอันหนึ่งในระบบสาธารณสุขของทุกประเทศทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและในประเทศที่กำลังพัฒนา ทั้งนี้ปัญหาการติดเชื้อที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลยังเป็นปัญหาที่ประสบกับทุกโรงพยาบาลในทุกขนาดตั้งแต่โรงพยาบาลระดับมหาวิทยาลัยตลอดไปจนถึงโรงพยาบาลชุมชน. ในแต่ละปี ผู้ป่วยจำนวนมากที่เกิดการติดเชื้อขึ้นระหว่างเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ...
  • พิษจากปลาปักเป้า : มหัตภัยใกล้ตัว...ในอาหาร

    วารสารคลินิก 275 พฤศจิกายน 2550
    ถ้าใครติดตามข่าวจากอินเทอร์เน็ต ในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา จะเห็นว่ามีข่าวเรื่อง "ผวาลูกชิ้นปลา" "งดหม่ำลูกชิ้นปลา" และยังมีข่าวว่า "พยาบาลสาว" โรงพยาบาลรัฐชื่อดังในกรุงเทพฯ กินปลาปักเป้าสังเวยไปแล้ว 1 ศพ และมีนิสิตแพทย์ อีก 3 คน กินปลาปักเป้าจนถูกหามเข้าห้องไอซียู. ต่อมามีฟอร์เวิร์ดเมลล์ระบุว่าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มีพยาบาลเสียชีวิต 1 ราย ...
  • สถานการณ์ผู้ป่วยอาหารเป็นพิษจากการกินเห็ด จังหวัดน่าน

    วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    จากการเฝ้าระวังของงานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2549 พบว่าในแต่ละปีจะพบผู้ป่วยจากการกินเห็ดพิษ และเสียชีวิต โดยพบในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนของทุกปี เกิดที่อำเภอปัว ติดต่อกัน 4 ปี (พ.ศ. 2545, 2546, 2547, 2549) พบที่อำเภอนาหมื่น, สองแคว และเชียงกลางปีละ 1 ครั้ง โดยอำเภอปัว ปี พ.ศ. 2545 พบผู้ป่วย 19 ราย เสียชีวิต 3 ราย ปี พ.ศ. 2546 พบ 8 ราย เสียชีวิต 1 ...
  • Medical Dilemma II : ความลับผู้ป่วย สิทธิผู้ป่วย และจรรยาบรรณทางการแพทย์

    วารสารคลินิก 274 ตุลาคม 2550
    ดังได้กล่าวมาแล้วในวารสารคลินิก ฉบับเดือนกันยายน 2550 ในลักษณะยกประเด็นขึ้นเพื่อให้พิจารณาโดยกว้างขวางในแนวทางปฏิบัติท่ามกลางสถานการณ์ทางเวชปฏิบัติที่น่าลำบากใจ จะเห็นได้ว่าวงการแพทย์ไทยยังขาดความชัดเจน และขาดระบบสนับสนุนที่เป็นรูปธรรม หลายๆ ด้าน. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้จัดให้มีการอภิปรายแง่มุมต่างๆ ในประเด็นเหล่านี้ในการประชุม Medical Conference ประจำวันที่ 11 ...
  • Compulsory Licensing : มาตรการแก้ไขปัญหาการผูกขาดจากสิทธิบัตรยา

    วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    บทนำสิทธิบัตร เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่กฎหมายบัญญัติให้เจ้าของสิทธิบัตร หรือผู้ทรงสิทธิมีสิทธิเด็ดขาด หรือสิทธิแต่เพียงผู้เดียว ในการแสวงหาประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้น เช่น การผลิต จำหน่าย และสิทธิที่ว่านี้จะมีอยู่เพียงช่วงระยะเวลาหนึ่ง1 หลังจากนั้นสาธารณชนสามารถใช้ประโยชน์จากสิทธิบัตรนั้นได้.เช่นเดียวกันกับ "ยา" ถ้าได้รับสิทธิบัตรแล้ว ...
  • Medical Dilemma : ความลับผู้ป่วย สิทธิผู้ป่วย และจรรยาบรรณทางการแพทย์

    วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    สถานการณ์ตัวอย่าง► นายชาติชาย อายุ 37 ปี สมรสแล้วมีบุตร 2 คน ตรวจเลือดไวรัสเอดส์เป็นผลบวก CD 4=180ร้องขอให้แพทย์เก็บข้อมูลนี้ไว้เป็นความลับไม่บอกแม้แต่ภรรยาของเขา.ท่านเป็นแพทย์ผู้ดูแลรักษา มีแนวทางปฏิบัติตนอย่างไร?► นายชนะ อายุ 62 ปี เกิดอาการ anaphylactic shock หลังได้รับการฉีดยา ceftriaxone เพื่อ รักษาภาวะปอดบวม เวชระเบียนระบุไว้แน่ชัดว่าผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยากลุ่ม penicillins ...
  • โรคเรื้อรัง... "รักษาไม่ได้" หรือ "ไม่ได้รักษา"

    วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    เมื่อได้ชื่อว่าเป็น หมอ อาจมีหลายคนรู้สึกว่าเรามีหน้าที่รักษาผู้ป่วยให้หายจากภาวะหรือโรคที่กำลังเป็นอยู่ แต่ในความเป็นจริงแล้วมีหลายครั้งที่เราไม่สามารถจะแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วให้หายได้ ทั้งนี้ขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น1. ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • คุยกับหมอพินิจ
  • คุยกับหมอไพโรจน์
  • คู่มือครอบครัว
  • คู่มือหมอครอบครัว
  • จดหมายจากจอน
  • จดหมายเหตุเวชกรรมไทย
  • จิตวิทยา
  • จิตใจและกามารมณ์ในคนแก่
  • ฉลาดรู้
  • ฉลาดใช้... ยา
  • ชีพจร UC
  • ชีวิตปลอดภัยถ้าใส่ใจปฐมพยาบาล
  • ชี้ทิศ รู้สิทธิ
  • ดุลชีวิต
  • ด้วยรักและเกื้อกูล
  • ‹‹
  • 3 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa