Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • สมัครสมาชิก
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • แอพลิเคชั่น DoctorMe
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » นานาสาระ

นานาสาระ (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • คุณสมบัติของศัลยแพทย์ที่ดีตอนจบ

    วารสารคลินิก 262 กันยายน 2549
    ศัลยแพทย์กับ Emotional Intelligence (EQ)EQ หมายถึง emotional intelligence และได้รับการย่อเป็น EQ เพื่อให้คล้องจองกับ IQ (Intelligence Quotient) ซึ่งหมายถึง intelligence ที่เราวัดได้ คำว่า EQ นี้ได้ใช้กันเป็นที่แพร่หลายและทั่วไป อารมณ์เป็นส่วนของร่างกายในส่วนที่เรารู้จักกันทั่วๆไปว่า " heart " และเป็นองค์ประกอบของชีวิตที่สำคัญมากอย่างหนึ่งที่ศัลย์แพทย์จะต้องคอยทนุบำรุงให้ emotion ...
  • คุณสมบัติของศัลยแพทย์ที่ดี ตอนที่ 1

    วารสารคลินิก 260 กรกฎาคม 2549
    ท่านศาสตราจารย์เปรม บุรี, ท่านหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์-ศาสตราจารย์กฤษฎา รัตนโอฬาร, เพื่อนศัลยแพทย์ร่วมอาชีพทุกท่าน และท่านผู้มีเกียรติทั้งหลาย ผมขอขอบคุณที่ได้เชิญให้มาบรรยายในปาฐกถา เปรม บุรี ครั้งที่สองในวันนี้ ผมถือว่าเป็นเกียรติอย่างสูงและมีความเต็มใจที่รับมาบรรยายโดยเหตุผลสองประการ ประการที่หนึ่ง ...
  • เพิ่มประสิทธิภาพเม็ดเลือดขาวรักษาโรคมะเร็ง

    วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    นักวิจัย สกว. พบหนทางใหม่ช่วยรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งมีโอกาสหายได้มากขึ้น ด้วยการเพิ่มจำนวนและประสิทธิภาพการทำงานของเม็ดเลือดขาวที่จำเพาะต่อการทำลายเซลล์ มะเร็ง ระบุในระดับหลอดทดลอง เซลล์เม็ดเลือดขาวมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมถึง 100 เท่า สามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้ดี เผยขณะนี้ขยายผลทดลองในหนู ...
  • เห็ดหลินจือช่วยรักษาผู้ป่วยไตเรื้อรังชนิดเนฟโฟรสิส

    วารสารคลินิก 257 พฤษภาคม 2549
    นักวิจัยพบสมุนไพรเห็ดหลินจือช่วยลดอาการไข่ขาวรั่วในปัสสาวะของผู้ป่วยโรคไตได้ หนทางใหม่ในการเยียวยารักษาป้องกันผู้ป่วย เข้าสู่ภาวะไตวาย เชื่อไม่เพียงช่วยให้ผู้ป่วยไม่ทุกข์ทรมาน ยังเป็นการลดภาระการรักษา.โรคไตเรื้อรังเนฟโฟรสิสชนิด focal segmental sclerosis คือกลุ่มผู้ป่วยโรคไตที่มีอาการบวมโดยพบมีภาวะไข่ขาวรั่วในปัสสาวะออกมามากเกินปริมาณที่มีการกำหนดไว้คือมากกว่าประมาณ 3.5 กรัม/วัน ...
  • สู่แนวทางตรวจไข้เลือดออกด้วย โปรตีนจากไวรัส

    วารสารคลินิก 255 มีนาคม 2549
    แพทย์ไทยเร่งศึกษาโปรตีนที่ถูกสร้างจากไวรัสไข้เลือดออก พบความเกี่ยวข้องกันระหว่างปริมาณของโปรตีนชนิดนี้กับความรุนแรงของโรคและผลพลอยได้ ยังนำไปสู่การพัฒนาชุดตรวจวัดโปรตีนชนิดนี้เพื่อค้นหาเชื้อไข้เลือดออกภายในเลือดได้อีกด้วย.โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ดังที่จะเห็นได้ว่ามีผู้เสียชีวิตจากการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกอยู่เป็นจำนวนไม่น้อยทุกปี ...
  • ตรวจไข้เลือดออกด้วยปัสสาวะเทคนิคใหม่รายแรกของโลก

    วารสารคลินิก 254 กุมภาพันธ์ 2549
    การระบาดของโรคไข้เลือดออกจะถูกกลบด้วยซาร์สหรือไข้หวัดนก แต่การระบาดของโรคนั้นยังคงความรุนแรง. สำนักระบาดวิทยารายงานผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกช่วง 2 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2548 กว่า 2,700 ราย เสียชีวิต 2 ราย ซึ่งมากกว่าจำนวนผู้ป่วยในช่วงเวลาเดียวกันของปี พ.ศ. 2547 1,190 ราย หรือเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 75.4.ปัญหาสำคัญของการควบคุมโรคไข้เลือดออกคือการวินิจฉัยโรค ...
  • สิ่งที่จําเป็นต้องรู้ 10 ประการเกี่ยวกับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่( Ten things you need to know about pandemic influenza*)

    วารสารคลินิก 254 กุมภาพันธ์ 2549
    1. การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่แตกต่างจากโรคไข้หวัดนกไข้หวัดนกเป็นกลุ่มของไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่เดิม ทําให้เจ็บป่วยเฉพาะในนก นานๆ ครั้งจะพบการติดเชื้อในสัตว์ตระกูลอื่น เช่น หมู และคน. ไวรัสไข้หวัดนกส่วนใหญ่จะไม่ทําให้เกิดการติดเชื้อในคน. การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่เกิดขึ้นเมื่อมีไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่ยังไม่เคยทําให้เกิดโรคในคนขึ้น ดังนั้นไวรัส H5N1 ...
  • การทำงานเป็นทีมในการให้ยาต้านไวรัสเอดส์

    วารสารคลินิก 238 ตุลาคม 2547
    การมีนโยบายระดับชาติในการให้ยาต้านไวรัสแก่ผู้ป่วยติดเชื้อโรคเอดส์ในปีพ.ศ. 2546 ได้เปลี่ยนมุมมองในการรักษาผู้ป่วยเอดส์ในประเทศไทยจากเดิมที่เคยเป็นโรคเฉียบพลันรุนแรงรักษาไม่ได้ ให้กลายเป็นโรคเรื้อรังที่สามารถให้การรักษาเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ในทำนองเดียวกับการดูแลรักษา ...
  • ความสม่ำเสมอในการใช้ยากันชัก

    วารสารคลินิก 237 กันยายน 2547
    การรักษาผู้ป่วยโรคลมชักให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นอยู่กับการพิจารณาเลือกใช้ยากันชักที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย รวมถึงการประเมินและติดตามผลการรักษาเป็นระยะๆ เพื่อปรับเปลี่ยนขนาดยาหากเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา หรือเพื่อประเมินการรักษาโดยการเจาะวัดระดับยาในเลือด หรือเพื่อพิจารณาการหยุดกินยากันชัก.1การที่ผู้ป่วยไม่สามารถกินยาได้อย่างสม่ำเสมอจะมีผลต่อการควบคุมการชัก. ผู้ป่วยโรคลมชักมากกว่าร้อยละ 80 ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • บทบรรณาธิการ
  • บทสัมภาษณ์พิเศษ
  • บนเส้นทางชีวิต
  • บริหารกายคลายปวดเมื่อย
  • บริหารร่างกาย
  • บอกเล่าเก้าสิบ
  • บันทึกการเดินทาง
  • บันทึกจากผู้อ่าน
  • บันทึกสุขภาพดีทั่วหน้า
  • บันทึกเวชกรรม
  • บุคลิกภาพ
  • ประสบการณ์รอบทิศ
  • ปริศนาคลินิก
  • ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
  • ปัจฉิมพากย์
  • ‹‹
  • 5 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa