ชีพจร UC (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)
-
วารสารคลินิก
272
สิงหาคม 2550
มองจากมุมของระบบการแพทย์ยุคใหม่ ยิ่งได้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลขนาดใหญ่ ยิ่งสะท้อนขีดความสามารถ การได้รับการยอมรับถึง "ฝีมือ" ของแพทย์คนนั้น แต่สำหรับ นพ.วศิน โพธิพฤกษ์ กลับมีมุมมองในทางกลับกัน ลึงลงไปในใจของคุณหมอหนุ่มคนนี้ การเลื่อนระดับความรับผิดชอบในเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นจากโรงพยาบาลขนาด 10 เตียง เป็นขนาด 30, 60 และ 90 เตียง ในช่วงชีวิตการทำงาน 15 ...
-
วารสารคลินิก
270
มิถุนายน 2550
ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ.....นับเป็นร่างกฎหมายที่ได้รับความสนใจจากสังคมอย่างมากในเวลานี้ เพราะเป็นการปฏิรูปความคิดและวิธีการจัดการเมื่อเกิดปัญหาความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข และจะเป็นความก้าวหน้าในเรื่องของการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากบริการสาธารณสุข หลังจากมาตรา 41 ของ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ...
-
วารสารคลินิก
268
เมษายน 2550
การรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานนั้น สิ่งสำคัญคือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยให้อยู่ ในเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ แต่เนื่องจากเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมความเป็นอยู่ของผู้ป่วย เช่น พฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย ปัญหาทางสังคม ครอบครัว ที่ทำให้เกิดความเครียด ซึ่งมีความซับซ้อนเกินกว่าที่การรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์เพียงอย่างเดียว ...
-
วารสารคลินิก
267
มีนาคม 2550
"กองทุนเยียวยาผู้ให้บริการ" ขวัญกำลังใจในการทำหน้าที่เพื่อเพื่อนมนุษย์►พนักงานขับรถยนต์ของโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ได้รับมอบหมายให้ขับรถเพื่อส่งต่อผู้ป่วย ซึ่งมี สิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ไปรับการรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลอีกแห่งหนึ่ง ขณะขับรถเพื่อส่งต่อผู้ป่วย ได้ถูกรถกระบะเฉี่ยวชนทำให้รถเสียการทรงตัวและพลิกคว่ำ พนักงานขับรถได้รับ บาดเจ็บสาหัส กระดูกสันหลังส่วนเอวข้อที่ 4 แตกและหัก ...
-
วารสารคลินิก
266
กุมภาพันธ์ 2550
ตลอดปี 2549 อันเป็นปีที่ 6 ของการดำเนินงานโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีความก้าวหน้าที่ น่าจับตาในหลายด้านคนไทยเกือบ 98 % มี "หลักประกันสุขภาพ"ณ เดือนกันยายน 2549 คนไทยร้อยละ 97.82 หรือ 61.04 ล้านคน (จากประชากรทั่วประเทศ 62.39 ล้านคน) มีหลักประกันสุขภาพ มีอัตราความครอบคลุมเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.96 โดย 47.54 ล้านคนลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพิ่มขึ้นจากปี 2548 ร้อยละ 0.42 ...
-
วารสารคลินิก
265
มกราคม 2550
การลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนให้ลงมาอยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบที่รุนแรง ถือเป็นวัตถุประสงค์ที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงที่ผ่านมา ได้มีการวิจัยเพื่อติดตามดูผลในเรื่องดังกล่าวว่าประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงไร โดยงานวิจัยชิ้นหนึ่งก็คือ เรื่อง "ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ30 บาทฯ ที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน" ...
-
วารสารคลินิก
257
พฤษภาคม 2549
ในระยะหลังนี้ ความขัดแย้งระหว่างแพทย์และคนไข้ในสังคมไทยปรากฏชัดเจนขึ้นและส่อเค้าจะลุกลามมากขึ้นจากจำนวนการฟ้องร้องที่บางกรณีตกลงกันได้ด้วยดี บางกรณียังยืดเยื้ออยู่ ความขัดแย้งและการเผชิญหน้า เหล่านี้ ล้วนก่อความทุกข์ให้ทั้งผู้ให้บริการทางการแพทย์และผู้รับบริการ หลายฝ่าย จึงพยายามหาทางออก โดยกระทรวงสาธารณสุขได้แต่งตั้งคณะทำงาน ซึ่งมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี เป็นประธาน ...
-
วารสารคลินิก
255
มีนาคม 2549
ในปีที่ผ่านมา สปสช. ก็ได้มีพัฒนาการไปสู่ขั้น 30 บาทช่วยคนไทยห่างไกลโรค ซึ่งมีนัยที่ต้องการส่งสัญญาณว่า การสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติขึ้นมา เพื่อไปสู่ระบบสุขภาพที่คนไทยทั้งมวลได้มีโอกาส "ห่างไกลโรค" ได้ รับบริการด้วยความ "มั่นใจในคุณภาพบริการ" ไม่ล้มละลายทางการเงินเมื่อป่วยหนัก และผู้ให้บริการก็มีความสุขในการได้จัดบริการตามวิชาการทั้งการแพทย์ สาธารณสุข ...
-
วารสารคลินิก
254
กุมภาพันธ์ 2549
30 บาท...ช่วยเด็กไทยห่างไกลโรคภายใต้นโยบาย " 30 บาทช่วยคนไทยห่างไกลโรค " เพื่อปกป้องคนไทยจากความเจ็บป่วย มุ่งให้ความสำคัญกับ " เด็ก " เพื่อป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพของเด็ก เพิ่มคุณภาพชีวิตให้เด็กไทยที่มีปัญหาสุขภาพ อันจะส่งผลถึงการลดภาระค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลในระยะยาว โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน ...