Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » พญ.เพ็ญพรรณ วัฒนไกร

พญ.เพ็ญพรรณ วัฒนไกร

  • ๖ โรคฤดูร้อน...ตัวอันตราย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    กระทรวงสาธารณสุขเตือนภัยระวัง ๖ โรคฤดูร้อน ที่มาจากการปนเปื้อนของน้ำและอาหาร สั่งการทุกจังหวัดจัดตั้ง "มิสเตอร์คลีน" ตรวจตลาดสดและร้านอาหาร นายพินิจ จารุสมบัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ชี้ถึงมาตรการป้องกันควบคุมโรคที่เกิดขึ้นในฤดูร้อนว่า ฤดูร้อนเป็นช่วงที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของเชื้อโรค ๖ ชนิด ได้แก่ อุจจาระร่วง ...
  • ข้อเข่าเสื่อม...ซ่อมได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาที่สร้างความเจ็บปวดน่ารำคาญให้กับผู้สูงอายุ คนอ้วน และผู้ที่ทำงานหนัก ทำให้ผู้ป่วยจำนวนมากไม่สามารถทำกิจกรรมหลายอย่างในชีวิตประจำวันได้ตามปกติ แต่การทำกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่องสามารถที่จะเยียวยาได้อย่างน่าอัศจรรย์ "โรคข้อเข่าเสื่อมพบว่าเกิดกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ๓ เท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยหลังหมดประจำเดือน ...
  • ปั่นวีลแชร์ ๗๐๐ กิโลร่วมใจเมาไม่ขับ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    สถิติในช่วงเทศกาลปี ๒๕๔๘ ที่ผ่านมา คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ๕๒๒ ราย มากกว่า ๒๕๐ รายมีสาเหตุจากเมาแล้วขับ"สถานการณ์อุบัติเหตุจราจรในประเทศไทยในขณะนี้มีความน่าเป็นห่วงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่กำลังจะมาถึง จะมีการซื้อขายและบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างไร้สำนึก ...
  • มะเร็งป้องกันได้ด้วยการกิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 324 เมษายน 2549
    ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านอาหารแห่งเอเชีย (AFIC) ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) จัดเสวนาเกี่ยวกับโภชนาการเรื่อง "การเพิ่มประสิทธิภาพระบบภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กด้วยโภชนาการที่ถูกต้อง" โดยเภสัชกรมานิตย์ อรุณากูร ...
  • สรุปบทเรียน "โครงการปีใหม่ไปให้ถึง"

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    "ปีใหม่ไปให้ถึง" จำนวนเหยื่อเมาแล้วขับ จาก ๓๑ จังหวัด พบว่า อุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ ๒๑๕ ราย มีเหยื่อเมาแล้วขับเป็นเพศชายถึง ๒๑๘ ราย มูลนิธิหมอชาวบ้าน มูลนิธิเมาไม่ขับ และเครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับ ร่วมกันสรุปบทเรียน "โครงการปีใหม่ไปให้ถึง" โดยมี นายแพทย์อุกฤษฏ์ มิลินทางกูร เลขาธิการมูลนิธิหมอชาวบ้าน นายแพทย์แท้จริง ศิริพานิช เลขาธิการมูลนิธิเมาไม่ขับ และ ดร.สสิธร ...
  • นอนกรนไม่ใช่ปัญหาเล็ก เซ็กซ์เสื่อมปัญหาใหญ่

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    "นอนกรน" อย่านิ่งนอนใจไม่ใช่ปัญหาเล็กอีกต่อไป เป็นบ่อเกิดโรคร้ายมากมาย อาทิ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดในสมอง อาจถึงขั้นสมรรถภาพทางเพศเสื่อมนายแพทย์ ชัยรัตน์ นิรันตรัตน์ ภาควิชา โสต ศอ นาสิก วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล กล่าวว่า "การนอนกรนชี้ให้เห็นถึงการอุดตันในทางเดินหายใจส่วนบน โดยมีหลายสาเหตุ ทั้งโรคไซนัส ริดสีดวงทวาร ...
  • ปัสสาวะเล็ดรักษาได้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    "ปัญหาปัสสาวะเล็ด" ไม่ใช่เรื่องตลกอย่างที่หลายคนเข้าใจ ผู้ที่มีอาการปัสสาวะเล็ดจะเกิดผลกระทบทั้งทางสังคมและจิตใจ เกิดการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอจากต้องตื่นขึ้นมาเข้าห้องน้ำกลางดึก สมาธิการทำงานหมดไปกับการเข้าห้องน้ำบ่อยครั้ง รวมทั้งเกิดความกลัวในการเดินทางเนื่องจากกังวลเรื่องห้องน้ำ ทำให้ผู้มีปัญหาปัสสาวะเล็ดมักมีอาการซึมเศร้าปิดตัวจากสังคมร่วมด้วย สาเหตุปัญหาปัสสาวะเล็ดมีหลายประการ อาทิ ...
  • วัคซีนเอดส์ระยะที่ ๓ ฝีมือคนไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    กว่าจะมาเป็นวัคซีนรักษาโรคร้ายให้ทุกคนได้อย่างที่เห็น ต้องผ่านการทดลองละเอียดทั้งในห้องปฏิบัติการ ในสัตว์ทดลอง และสุดท้ายในมนุษย์ วัคซีนเอดส์ก็เช่นกัน ซึ่งในปัจจุบันได้มีการทดลองในมนุษย์(ระยะที่ ๓) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จัดงานแถลงข่าว "ความก้าวหน้าและแผนการดำเนินงานประจำปี ๒๕๔๙ โครงการเอดส์ทดลองระยะที่ ๓" โดยมี นายพินิจ จารุสมบัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ...
  • ยาขับเหล็กชนิดกินผ่านฉลุย อย. สองชาติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกากับสวิตเซอร์แลนด์อนุมัติให้ใช้ยา "เอ็กซ์เจด (Exjade)" ยาขับเหล็กชนิดกินแทนการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง จึงเป็นทางเลือกใหม่สำหรับการรักษาภาวะเหล็กเกินในผู้ป่วยโรคโลหิตจางเรื้อรังที่ต้องได้รับเลือดบ่อยครั้งExjade เป็นยาขับเหล็กชนิดเม็ดละลายน้ำ ให้ความสะดวกกว่ายาขับเหล็กชนิดฉีด ที่ต้องฉีดเข้าใต้ผิวหนังต่อเนื่องนานกว่า ๘-๑๒ ชั่วโมง เป็นเวลา ๕-๗ วันต่อสัปดาห์ ...
  • สื่อการเรียนรู้ BBL พัฒนาไอคิวเด็กไทย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 323 มีนาคม 2549
    เด็กไทยโง่ลง เพราะสมองได้รับการกระตุ้นน้อยและไม่ถูกวิธี ในช่วงแรกเกิดถึง ๖ ขวบ สถาบันวิทยาการการเรียนรู้ (สวร.) จัดประชุมเรื่อง "สื่อการเรียนรู้แบบ BBLในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา" โดยมี ดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย รองผู้อำนวยการสถาบันวิทยาการการเรียนรู้ และนายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการการเรียนรู้ เป็นผู้บรรยายดร.สุรชัย โฆษิตบวรชัย กล่าวว่า ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa