-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
178
กุมภาพันธ์ 2537
กายภาพบำบัดกับการปรับภาวะสมดุลของร่างกายการเกิดความเจ็บป่วยนั้นมีสาเหตุมาจากการที่ร่างกายไม่สามารถควบคุมภาวะสมดุลภายในร่างกายได้กลไกทางภาวะสมดุลนั้นพยายามต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมภายในร่างกายที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมภายนอกซึ่งเป็นผลจากการกินอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ การบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย การทำงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆ การทำลายจากเชื้อโรคพยาธิหรือไวรัส ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
176
ธันวาคม 2536
การปรับร่างกายรับฤดูกาลที่มาเยือนการเปลี่ยนแปลงฤดูในปลายปีนี้ อาการเริ่มเปลี่ยนจากความอบอ้าวและเปียกชื้นในหน้าฝน มาเป็นอากาศที่แห้งแล้งและเย็นเยือกของหน้าหนาว เมื่อเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีร่างกายไม่แข็งแรงเกิดอาการไม่สบายและไปหาแพทย์ มักจะได้คำวินิจฉัยที่คล้ายคลึงกัน คือ เป็นหวัดหรือเป็นไข้หวัด ทั้งนี้ตั้งอยู่บนรากฐานทางระบาดวิทยาที่ว่า ช่วงการเปลี่ยนแปลงของฤดู โรคภัยไข้เจ็บที่พบบ่อย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
174
ตุลาคม 2536
การควบคุมอาหารอาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต อาหารถูกนำไปเผาผลาญเป็นพลังงาน ทำให้เซลล์ภายในร่างกายทำงานได้ สิ่งมีชีวิตจึงหายใจได้ เคลื่อนไหวได้ สืบพันธุ์ได้ บางประเทศในแอฟริกา การขาดแคลนอาหารเป็นปัญหาหนักจนต้องอาศัยความช่วยเหลือจากนานาประเทศเนื่องภาวะสงครามและความแห้งแล้ง แต่ในประเทศที่กำลังพัฒนาแล้ว อาหารการกินมีมากมาย โดยเฉพาะประเทศไทย มีข้าวเหลือเฟือ เนื่องจากส่งออกไม่ได้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
172
สิงหาคม 2536
นอนไม่หลับผู้ใดที่เคยนอนไม่หลับในเวลากลางคืนจะรู้ซึ้งดีถึงความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจ จะรู้สึกครั่นเนื้อครั่งตัว นอนท่าไหนก็ไม่สบายทั้งๆ ที่ไม่มีไข้ ความรู้สึกนอนไม่หลับช่างก่อความรำคาญทำให้จิตใจหงุดหงิดได้ไม่น้อย ในกรณีที่มีเรื่องทุกข์ร้อนอยู่มักจะนำมาคิดให้เกิดความวิตกกังวล จนบางครั้งคิดว่าประสาทหลอนเนื่องจากได้ยินเสียง แปลกประหลาด หรือเสียงนินทาดังแว่วอยู่ในหู ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
171
กรกฎาคม 2536
สาเหตุของกระดูกหักในผู้สูงอายุปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในปัจจุบัน คือ กระดูกหัก และตำแหน่งที่หักมักจะเป็นที่กระดูกสันหลัง และส่วนต้นของกระดูกต้นขาส่วนที่ต่อจากข้อสะโพก ซึ่งเรียกว่า“คอ” ของกระดูกต้นขา ในกรณีของกระดูกสันหลังหักซึ่งมีประวัติว่า ก้มลงหยิบของแล้วเกิดอาการปวดหลังมากจนนั่งไม่ได้ ต้องนอนเป็นเวลานาน และถึงแม้ไม่ได้รับการรักษาใดๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
170
มิถุนายน 2536
อาการหวัดอาการหวัดเป็นได้กับทุกเพศ ทุกวัย และตลอดปี ทั้งฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว อาการที่พบบ่อย คือ จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ อาจจะมีไข้ต่ำๆ และมักหายไปภายในเวลา2-3 วัน เมื่อได้นอนพักผ่อนอย่างเพียงพอ อาการหวัดไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ซึ่งมีไข้สูง และรุนแรงจนล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกไม่ขึ้น และอาจมีโรคแทรกซ้อนอื่นๆต้นเหตุของอาการหวัดยังไม่ทราบกันดี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
169
พฤษภาคม 2536
หน้าร้อนกับอาการตกหมอนในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี โดยเฉพาะปี2536 นี้ อากาศร้อนอบอ้าวทั้งกลางวันและกลางคืน ในกลางวันอุณหภูมิของพื้นที่บางแห่งสูงมากถึงกว่า40 องศาเซลเซียส มากกว่าอุณหภูมิร่างกายซึ่งมีค่าประมาณ 37 องศา บางคนถึงกับบ้าคลั่งจนกระโดดตึกตาย หรือเกิดอารมณ์ฉุนเฉียว เอาปืนไล่ยิงผู้อื่น ปรากฎเป็นข่าวบนหน้าหนังสือพิมพ์หลายคดีหลายๆ คนมักบ่นว่าปวดคอ ปวดศีรษะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
168
เมษายน 2536
นอนไม่พอ...ระวังเป็นอัมพาตการนอนไม่เพียงพอสามารถบั่นทอนสุขภาพนั้นเป็นที่กล่าวขวัญกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนมีคำพังเพยของชาวจีนแต้จิ๋วว่า การบั่นทอนสุขภาพ อันดับแรก คือ การมีกามกิจมากเกินควร อันดับสอง คือ การเล่นพนันตลอดคืน อันดับสาม คือ การเฝ้าดูงิ้วข้ามคืนจะเห็นได้ว่าทั้ง 3 อันดับ ล้วนเกี่ยวข้องกับการนอนไม่เพียงพอในเวลากลางคืน ขณะที่กลางวันคาดว่าคงไม่ได้พักผ่อนเช่นเดียวกัน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
167
มีนาคม 2536
ถอนฟันกับปวดหลังญาติสูงอายุผู้หญิงของผมคนหนึ่ง ท่านตื่นตี 5 เพื่อไปออกกำลังกายที่สวนลุมฯ ทุกเช้า พอตอนสายขึ้นรถเมล์ไปขายของทุกวัน ถึงตอนเย็นก็กลับบ้านพักผ่อน ปรากฏว่า สุขภาพท่านดี ไม่อ้วน กินอาหารได้ ถ่ายอุจจาระได้ หัวถึงหมอนนอนหลับทันที ไม่เคยเจ็บไข้ได้ป่วยจนล้มหมอนนอนเสื่อ แต่เมื่อไม่นานมานี้ท่านไปถอนฟันออก 5 ซี่ เพื่อเตรียมใส่ฟันปลอม น้ำหนักท่านลดลงทันที 3 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
164
ธันวาคม 2535
ต้นเหตุของการปวดหลังอาการปวดหลังเป็นความเจ็บปวดที่มีมาคู่กับมนุษย์ จนอาจกล่าวได้ว่า เมื่อเริ่มปรากฏมีมนุษย์เดินด้วยสองขาบนพื้นพิภพนี้ มนุษย์ก็รู้จักกับอาการปวดหลังแล้ว มนุษย์เคลื่อนที่ในลักษณะที่แตกต่างจากสัตว์สี่เท้าอื่นๆ และแตกต่างจากลิง ค่าง ชะนี ที่มีมือห้อยโหนไปมาบนต้นไม้มากกว่าเดินอยู่บน 2 ขา ผลที่ตามมา คือ มนุษย์สามารถใช้มือทั้งสองในการทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างสะดวกคล่องแคล่ว แต่ข้อเสียคือ ...