-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
97
พฤษภาคม 2530
สัตว์ที่มนุษย์ยกย่องไม่มีสัตว์ใดเกินกว่าวัว ตั้งแต่อดีตจวบจนทุกวันนี้ โดยเฉพาะในประเทศอินเดีย วัวเป็นสัตว์ที่ชาวฮินดูนับถือเหมือนหนึ่งพระเจ้า วัวไม่เพียงแต่ช่วยไถนา ลากเกวียน ใช้แรงงานอื่นๆ แล้ว วัวยังเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอีกด้วยประวัติศาสตร์ของหลายๆประเทศ วัวเคยมีบทบาทในสมรภูมิสงครามและรบได้ชัยชนะมาหลายครั้ง ประโยชน์ของวัวนั้นมีมากมาย นักประพันธ์ผู้ยิ่งใหญ่ของจีน หลู่ซิ่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
96
เมษายน 2530
ผักป๋วยเล้ง ธาตุเหล็กจากพืชผักป๋วยเล้งมีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอาหรับ ชาวอาหรับให้สมญาผักป๋วยเล้งว่า “ราชาแห่งผัก” มีบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ถัง สมัยพระเจ้าถังไท่จง กษัตริย์เนปาลได้ถวายเครื่องราชบรรณาการ โดยมีผักป๋วยเล้งอยู่ด้วย ⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์ Spinacia oleraceae วงศ์ Channopodiaceae⇒ สรรพคุณ ผักป๋วยเล้งมีคุณสมบัติเย็น รสหวาน สรรพคุณบำรุงเลือด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
95
มีนาคม 2530
พริก ยาฆ่าแมลงธรรมชาติถิ่นเดิมของพริกขึ้นอยู่แถบทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ เม็กซิโก เปรู เป็นต้น ชาวอินเดียนแดง เป็นชนเผ่าแรกที่ปลูกและกินพริก ใช้พริกปรุงอาหาร ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ได้มีผู้นำพริกเข้าไปในยุโรป และราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้แพร่เข้าไปยังประเทศจีนและประเทศอื่นๆในเอเชีย⇒ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capsicum frutescens. L. (C. minimum Roxb) วงศ์ Solanaceae ในพริกมีแคปซายซิน (Capsaicin) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
94
กุมภาพันธ์ 2530
นม – อาหารธรรมชาติที่ทรงคุณค่าน้ำนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก ในน้ำนมแม่นอกจากมีอาหารที่เหมาะสำหรับเด็กเกิดใหม่แล้ว ทารกยังสามารถย่อยและดูดซึมได้ง่ายอีกด้วยนอกจากนี้ น้ำนมแม่ยังมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของภูมิคุ้มกัน (Immunoprotein) หลายชนิดที่สร้างภูมิคุ้มกันให้ทารกทำให้ทารกแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรคได้ เพราะฉะนั้นคุณแม่ควรจะเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
91
พฤศจิกายน 2529
เป็ด-เป็ด(ย่าง)ปักกิ่ง⇒ เป็ด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anas domestica L.พอเอ่ยถึงเป็ดปักกิ่ง ใครๆก็ร้องอ๋อ เป็ดปักกิ่งเป็นอาหารที่ทั่วโลกรู้จักเป็นอย่างดี เป็นศิลปะการกินเป็ด ของชาวจีน ซึ่งมีประวัติอันยาวนานมาแล้วจีนเป็นชาติแรกที่รู้จักการเลี้ยงเป็ด ดังที่บันทึกไว้ในหนังสือ “เอ่อหย่า” จนกระทั่งราวคริสต์ศักราชที่1 ชาวยุโรปจึงค่อยๆรู้จักเลี้ยงเป็ด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
90
ตุลาคม 2529
มันฝรั่ง – อาหารหลักของชาวยุโรป⇒ มันฝรั่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solanum tuberosum Linn. วงศ์ Solanaceae แหล่งกำเนิดของมันฝรั่งคือประเทศเปรู ได้มีการขุดพบเครื่องใช้ที่มีรูปร่างคล้ายมันฝรั่ง ซึ่งสันนิษฐานว่า ทำขึ้นประมาณ 200 กว่าปีก่อนคริสต์ศักราช (2,200 ปีมาแล้ว) จากหลักฐานดังกล่าว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
89
กันยายน 2529
น้ำส้มสายชูเครื่องปรุงอาหารที่ขาดไม่ได้น้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงอาหารที่สำคัญ ซึ่งขาดเสียไม่ได้อย่างหนึ่งในชีวิตประจำวัน ชาวจีนรู้จักการทำน้ำส้มสายชูมาเป็นเวลาหลายพันปีแล้ว ดังมีบันทึกไว้ในหนังสือ โจวหลี่ ซึ่งเขียนโดยโจวกง ในปี 1058 ก่อนคริสต์ศักราช (ประมาณ 3044 ปีมาแล้ว)น้ำส้มสายชูมีประโยชน์มากมายในการผัดผักถ้าใส่น้ำส้มสายชูลงไปเล็กน้อย ก็จะช่วยถนอมคุณค่าอาหารของผัก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
88
สิงหาคม 2529
บัว สมุนไพรมีคุณค่าเมื่อกล่าวถึงบัวใครๆก็รู้จักดี ดอกบัวเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งในทางพุทธศาสนา ดอกบัวถูกนำไปใช้ในพิธีการต่างๆ ทางศาสนกิจ พระพุทธเจ้าได้เปรียบมนุษย์เหมือนดอกบัว 4 ประเภทบัวนอกจากมีความสำคัญในทางศาสนาพุทธแล้ว นักกวีหรือจิตรกรมักนำเอาบัวไปเป็นวัตถุดิบในการประพันธ์หรือวาดภาพ และที่สำคัญคือ ทุกส่วนของบัวตั้งแต่เหง้า ใย ใบ ดอก รังบัว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
87
กรกฎาคม 2529
มะพร้าว กลูโคสธรรมชาติพอเอ่ยถึงมะพร้าว ใครๆก็ต้องรู้จัก น้ำมะพร้าวอ่อนนั้นเป็นเครื่องดื่มที่เหมาะสำหรับดื่มแก้ร้อนกระหายน้ำได้ดีในหน้าร้อน นอกจากนี้น้ำมะพร้าวอ่อนยังมีกลูโคสและฟรักโทส (fructose) ในปริมาณมาก ถ้าดื่มแล้วจะทำให้สดชื่น กระชุ่มกระชวยอีกด้วย และเนื้อมะพร้าวยังสามารถนำไปปรุงอาหาร ขนมได้อีกมากมายมะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้านในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
86
มิถุนายน 2529
ข้าวเหนียวมะม่วง อาหารและขนมที่อร่อยหน้าร้อนทุกปีอาหารและขนมที่เป็นที่โปรดปรานของทุกคนก็คือข้าวเหนียวมะม่วงไงละ แต่บางคนบอกว่า แม้จะอร่อยแต่ก็กินไม่ค่อยได้มาก กินแล้วจะรู้สึกไม่สบายท้องคือมีอาการร้อนใน เจ็บคอ ท้องผูก ปวดหัว “หมอชาวบ้าน” ฉบับนี้เลยถือโอกาสเสนอข้อมูล ข้าวเหนียวมะม่วงกับท่านผู้อ่านข้าวเหนียว⇒ ข้าวเหนียวมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Oryza Stiva. var. ...