Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » รายชื่อนักเขียน » นพ.สุรพงษ์ ดวงรัตน์

นพ.สุรพงษ์ ดวงรัตน์

  • ต้อลม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 122 มิถุนายน 2532
    ต้อลมต้อลม (pinquecula) เป็นโรคที่พบได้บ่อยเกือบจะเรียกได้ว่าเป็นโรคประจำลูกตาของคนค่อนข้างมีอายุ แทบจะไม่พบโรคนี้ในเด็กอายุต่ำกว่า 10 ขวบ บางคนเรียกว่าโรค “ตากร้านลม กร้านแดด” นั่นหมายถึงว่า จะต้องเกิดในคนที่ผ่านโลกมานานพอสมควรทีเดียว มิฉะนั้นคงไม่ “กร้าน” เป็นแน่เราจะพบว่า ในเด็กแรกเกิดหรือเด็กอนุบาล ดวงตาจะดำและขาวตัดกัน และดูสดใสสะอาด เป็นดวงตา (แววตา) ...
  • สายตาเอียง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 121 พฤษภาคม 2532
    สายตาเอียงข้างขวาเอียงมากกว่าข้างซ้าย และสั้นประมาณ 50 มักจะปวดหัวและปวดตาบ่อยๆ การใส่แว่นตาแล้วถอดๆ ใส่ๆ บ่อยๆ จะมีผลต่อสายตาหรือไม่ผู้ถาม วรรณา/มหาสารคามผู้ตอบ น.พ.สุรพงษ์ ดวงรัตน์ถามดิฉันอายุ 30 ปี สายตาเอียงประมาณ 120 ข้างขวาเอียงมากกว่าข้างซ้าย และสั้นประมาณ 50 ดิฉันมักจะปวดหัวและปวดตาบ่อยๆ จึงใส่แว่นตา ใส่มาได้ 3 เดือนแล้ว แต่ไม่ชิน เวลาเมื่อยจมูกก็จะถอด ...
  • สายตาคนมีอายุ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 120 เมษายน 2532
    ⇒ สายตาคนมีอายุหมายความว่าอย่างไรคำว่าสายตาคนมีอายุ (Presbyopia) หมายถึง คนที่มีอายุเข้าวัยกลางคน คืออายุใกล้ตัวเลข 40 หรือ 40 กว่าเล็กน้อย จำเป็นต้องสวมแว่นตาแล้ว แว่นตาที่ว่านี้หมายถึง แว่นตาสำหรับใส่อ่านหนังสือหรือทำงานบนโต๊ะ หรือทำงานระยะใกล้ประมาณ 1-2 ฟุตห่างจากตา ทั้งนี้ เพราะอ่านหนังสือพิมพ์หรือทำงานระยะ 1-2 ฟุตไม่ถนัด สังเกตได้ง่าย คือ ...
  • เลนส์ย่อส่วน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 120 เมษายน 2532
    เลนส์สายตาชนิดย่อส่วน เมื่อใช้ไปนาน ๆ จะมีผลข้างเคียงอะไรบ้าง สามารถตัดแสงสะท้อนได้ดีกว่าชนิดหนาหรือไม่ผู้ถาม ศิริชัย/ตรังผู้ตอบ  น.พ. สุรพงษ์ ดวงรัตน์สายตาสั้นข้างละ 400 เอียงข้างซ้าย 100 ข้างขวา 125 เลนส์ที่ใช้หนามาก และเวลาดูหนังสือมักจะปวดตา ยิ่งถ้าดูหนังสือเป็นเวลานาน ๆ มักจะปวดที่ต้นคอด้วย หรือถ้าเผลอก็มักจะอ่านหนังสือโดยคอเอียง ผมไปถามที่ร้านตรวจวัดสายตา ว่ามีเลนส์สายตาชนิด 400 ...
  • ตาเข

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    ในการถามเกี่ยวกับเรื่องการเจ็บป่วยส่วนตัว ถ้าจะให้ได้คำตอบที่ถูกต้อง ควรจะเล่าประวัติอาการการตรวจรักษา การใช้ยา การแพ้ยา (ถ้าเคย) ผลการตรวจเลือด เอกซเรย์ (ถ้ามี) ให้ละเอียด และโปรดแจ้งชื่อ อายุ เพศ อาชีพ ที่อยู่ ให้ชัดเจน โปรดกรุณาแยกคำถาม แต่ละโรค กรุณาอย่าถามคำถามรวมในฉบับเดียวกัน เช่น แยกโรคเกี่ยวกับกายภาพบำบัด, สุขภาพช่องปากตาเขเป็นปัญหาต่อการมองอย่างไร ...
  • ตามัว (ตอนที่ 4)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    2. แปรตามความเสื่อมของร่างกายตามัวชนิดนี้พบได้ในผู้ที่มีอายุเลยวัยหนุ่มสาวไปแล้ว ตามัวที่พบได้ คือ1. สายตายาว (Presbbyopia) ผู้ที่มีอายุใกล้ 40 ปี หรือ 40 ปีขึ้นไป การอ่านหนังสือหรือทำงานระยะใกล้ ๆ ประมาณ 1-2 ฟุตไม่ค่อยถนัด ไม่ชัด ทำนาน ๆ รู้สึกปวดกระบอกตา เมื่อยล้านัยน์ตา แสบตา น้ำตาไหลมาก ๆ อยากอาเจียน พาลหงุดหงิด ใกล้ถึง ป.ส.ด. ในบางราย2. โรคนัยน์ตาบางชนิด เช่น(ก) ต้อหินชนิดมุมเปิด ...
  • ตากระตุก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 111 กรกฎาคม 2531
    ⇒ ถามตากระตุกเกิดจากอะไร จะรักษาอย่างไร เป็นมา 2-3 เดือน จะเป็นอันตรายหรือเปล่าดิฉันมีปัญหาเกี่ยวกับตาข้างซ้าย ตามันเดียวกริบ (ตากระตุก) ตาข้างซ้ายกริบเป็นเดือน 2-3 เดือน แล้วหายประมาณ 6 วัน แล้วเป็นต่อจนทุกวันนี้ยังเป็นอยู่ ดิฉันขอเรียนถามว่า1. ตาดิฉันจะรักษาอย่างไรให้หายกริบ (กระตุก) เป็นเดือนอย่างนี้ ใช้เวลานานไหม2. จะเป็นอันตรายต่อสายตาหรือเปล่าสาวิตรี/ยะลา⇒ ...
  • ต้อกระจก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    ⇒ ถามเป็นมาประมาณ 2 ปีแล้ว หมอบอกว่าเป็นทั้ง 2 ข้าง ปัจจุบันอายุ 75 ปีแล้ว ตรวจมา 3 ครั้งอาการยังคงเดิมผมเป็นต้อกระจกในวัยชรา ที่ตาข้างซ้ายเป็นเยื่อเมือกมาปิดมองอะไรไม่เห็นเป็นรูปร่าง เห็นเพียงราง ๆ แสดงว่ายังไม่บอด เป็นมาประมาณ 2 ปีแล้ว ส่วนตาข้างขวา เวลานี้ยังสังเกตไม่ได้ว่าจะเป็นเมือกขุ่นขึ้นมาบ้างหรือเปล่า แต่ก็รู้สึกว่า มัวลงไปบ้าง ไม่ค่อยแจ่มใสเหมือนปีก่อน ๆ ...
  • ตามัว (ตอนที่ 3)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    ข. เป็นขึ้นภายหลังตามัวที่เกิดภายหลังกำเนิดมาแล้ว อาจจะแบ่งเป็นข้อ ๆ หรือขั้นตอน ให้อ่านเข้าใจง่ายได้พอสังเขปดังนี้ 1. ตาเข หรือตาเหล่ ภาวะตาเขหรือตาเหล่อยู่กึ่งกลางระหว่าง แต่กำเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลังก็ได้ ...
  • ตามัว (ตอนที่ 2)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 109 พฤษภาคม 2531
    1. มีความผิดปกติที่ตรวจเห็นได้ชัดสาเหตุแห่งตามัวอันนี้อาจแบ่งย่อยออกเป็น 2 ลักษณะที่มาได้อีก คือก. เป็นความผิดปกติแต่กำเนิด (Congenital)ข. เป็นขึ้นภายหลัง (acquired)ก. เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดมีได้หลายอย่างดังจะยกตัวอย่างได้ทราบ เพราะบางคนอาจจะมีความผิดปกติตาข้างใดข้างหนึ่ง หรือพร้อมกันทั้ง 2 ข้าง ตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่งโตเป็นหนุ่มสาว หรือผู้ใหญ่ จนถึงคนแก่ สิ่งเหล่านั้นก็ติดตัวเองมาตลอด ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • นักเขียนหมอชาวบ้าน
  • นักเขียนรับเชิญ
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ y

บทความเฉพาะเรื่อง

  • บทความเฉพาะเรื่อง

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa