Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » ป้ายคำ

ป้ายคำ

  • จ้าวโรค 5

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 5 กันยายน 2522
    จ้าวโรค 5 “น้องเป็นสาวขอนแก่น ยังบ่เคยมีแฟน บ้านอยู่แดนอีสาน”แฮ่ น้องไม่ได้ร้องเพลงเล่นนะฮะ น้องอยู่ขอนแก่นจริงๆ ด้วย บ้านน้องเขาเลี้ยงหมูไว้แยะทีเดียว คุณอุ๊ด(หมู) กำลังรุ่งสาวจอมซน กินอะไรๆ ไม่เลือกแม้แต่อึแน่ะ! คุณอุ๊ดเดินมาใกล้กองอึ ที่น้องนอนเล่นอยู่แล้วละ คุณอุ๊ดเธอดมๆ คงบอกว่า “แหม หอมน่ากินจัง” เธอก็เลยกินอึกองนั้นพร้อมกับน้องเข้าไปด้วย น้องไม่ได้ตกใจนะฮะ ...
  • พยาธิเป็นโรคร้าย...กำจัดได้เมื่อถ่ายยา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 5 กันยายน 2522
    ‘พยาธิเป็นโรคร้าย...กำจัดได้เมื่อถ่ายยา’โรคพยาธิเป็นโรคที่มีอันตรายต่อร่างกายของคนเรามาก เพราะถึงแม้อาการของโรคพยาธิในตอนแรกๆ จะไม่ค่อยรุนแรงหรือเห็นผลในทันทีทันใดเหมือนกับการเจ็บป่วยด้วยโรคชนิดอื่นๆ เพราะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป มันจะทำลายร่างกายเราทีละเล็กทีละน้อยดูดเลือดวันละนิดละหน่อย แย่งอาหารจากลำไส้ของเราอยู่เรื่อยๆ ร่างกายของคนที่เป็นโรคพยาธิก็จะซูบซีดลง อ่อนแอ เซื่องซึม ...
  • ผิวหนัง ผม ขน และเล็บ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    ผิวหนัง ผม ขน และเล็บรูปที่ 1 ส่วนประกอบของเซลล์รูปที่ 2 หนังกำพร้า (ผิวหนังชั้นนอก)ผิวชั้นบนสุด1 ประกอบด้วยเซลล์ที่ตาแล้ว มีลักษณะคล้ายแผ่นกระเบื้องมุงหลังคา มีสารโปรตีนแข็งๆ ที่เรียกว่า เคอราติน (Keratin) ซึ่งช่วยให้ผิวหนังเหนียวและกันน้ำ เซลล์ที่ตายแล้ว จำนวนล้านๆ ตัว จะหลุดออกจากผิวเป็นขี้ไคลอยู่ตลอดเวลา โดยถูกแทนที่ด้วยเซลล์ใหม่ที่เคลื่อนตัวจากชั้นล่าง2 ...
  • คุยกับผู้อ่าน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    ในครั้งที่แล้วคุณพิฑูรย์ สารสม จากขอนแก่นเขียนมาแสดงความชื่นชมต่อแนวทาง “หมอชาวบ้าน” แต่ก็ยังเกรงว่าจะเป็นการหาเสียง ก็น่าเห็นใจครับ เพราะชาวบ้านถูกหลอกกันมามากเสียใจจนขยาด แต่เราขอถือโอกาสเรียนว่า นิตยสาร “หมอชาวบ้าน” มิได้เป็นของทางราชการ หรือรัฐบาล หรือพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง แต่เกิดจากบุคคลคณะหนึ่ง ซึ่งใฝ่ฝัน แสวงหา และตะเกียดตะกาย ...
  • การซักประวัติ (ต่อ)

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    ตอน4 : การซักประวัติ (ต่อ) ประวัติการเจ็บป่วย หรือ เรื่องราวการเจ็บป่วย เป็นสิ่งสำคัญที่สุด ที่จะช่วยให้รู้ว่า การเจ็บป่วยนั้นเป็นโรคอะไร เกิดจากสาเหตุอะไร ควรจะแก้ไขอย่างไร และอื่นๆประวัติการเจ็บป่วยที่สำคัญ คือ ประวัติปัจจุบัน ซึ่งหมายถึง เรื่องราวการเจ็บป่วยในครั้งนี้ ไม่ได้รวมถึงเรื่องราวของการเจ็บป่วยครั้งก่อนๆ หรือที่เรียกว่า ประวัติอดีต ยกเว้นแต่ในกรณี ที่การเจ็บป่วยครั้งก่อนๆ ...
  • บาดแผลไฟไหม้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    บาดแผลไฟไหม้เราคงประสบกับผิวหนังถูกความร้อนจนไหม้พองกับตัวเองมาแล้ว ถ้าพอทนได้ ปล่อยทิ้งไว้ มันก็หายไปเอง ถ้าเป็นมากกินบริเวณกว้างประกอบไฟที่ร้อนจัด หรือความร้อนนั้นถูกกับผิวหนังอยู่นานจนเป็นแผลลึกปล่อยไว้ไม่ได้ มักไม่หายเอง อาจมีโรคแทรกซ้อน ซึ่งทำให้ทุพลภาพ หรือมากจนกระทั่งเสียชีวิตได้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผิวหนังผิวหนังของคนเรา โดยทั่วๆ ไป จะหนาประมาณ 1-3 มิลลิเมตร ...
  • เกล็ดกระดี่ขึ้นตา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    เกล็ดกระดี่ขึ้นตาผมได้ไปบรรยายเรื่องโรคเด็กแก่สมาชิกชมรมแพทย์ประจำตำบล เมื่อเร็วๆนี้ได้มีผู้ถามว่า “โรคเกล็ดกระดี่ขึ้นตา” มีสาเหตุจากอะไรและรักษาอย่างไร และอีก 2-3 วันต่อมา ได้เห็นบทความในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ซึ่งอธิบายเห็นให้ถึงความลำบากของผู้ที่เป็นโรคนี้ จึงได้แนบบทความนั้นให้มาอ่านดูด้วย เพราะผมคงไม่สามารถบรรยายให้ ซาบซึ้งเช่นนี้ได้ โรคนี้เป็นโรคที่พบได้บ่อย ...
  • ไข้และไอ ในฤดูฝน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    ไข้และไอ ในฤดูฝนโรคภัยไข้เจ็บในฤดูฝนในบ้านเราดูจะชุกชุมกว่าฤดูอื่นๆ โดยเฉพาะทางภาคใต้ ซึ่งมีระยะฝนตกตามฤดูกาลยาวนานกว่าภาคอื่นๆ ปีหนึ่ง อาจยาวนานถึง 4-8 เดือน และฤดูฝนก็ตกหนักจริงๆ จังๆ ติดต่อกัน 3 วัน 3 คืน ก็พบได้บ่อยบางคราวก็ตกติดต่อกัน 7 วัน 7 คืน ก็เคยมี และมันไม่ใช่ตกเปาะๆ แปะๆ แต่มันตกลงมาเหมือนฟ้ารั่วน้ำนั้นแหละ แถวระนอง ปัตตานี นราธิวาส ดูจะชุกกว่าที่อื่น ...
  • ลมตะกัง โรคปวดหัวข้างเดียว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    ลมตะกัง โรคปวดหัวข้างเดียวโธ่! ปวดหัวมาอีกแล้วใช่ไหมล่ะลองดูก่อนซิว่า ปวดแบบไหนว่าทั้งวันก็ว่ากันไม่จบ เพราะปวดนั้นมีสาเหตุมากมายมีอาการปวดหัวชนิด หนึ่ง ที่ ปวดเป็นพัก ๆโดยมากมักจะปวดแบบซีกเดียวหรือปวดสลับข้าง อาจเป็นขมับหรือเบ้าตา อาจปวดตื้อๆ หรือปวดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ บางคนแถมมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ตาพร่า ตาลาย เข้าอีกด้วยนี่แหละที่ชาวบ้านเราเรียกกันว่า “ลมตะกัง” ละ ...
  • ยาน่าใช้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 4 สิงหาคม 2522
    ยาน่าใช้ ยาผูกพันกับชีวิตของคนเรา จนถูกจัดเข้าเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ ซึ่งสำคัญต่อการดำรงชีวิตของคนเรา จึงจำเป็นที่จะต้องทำความรู้จักกับปัจจัยหลักอันนี้ เพราะยาเป็นปัจจัยที่ให้คุณค่ามหาศาลแก่ชีวิตสำหรับบทความนี้ เราจะขอเน้นถึงหลักการคร่าวๆ เกี่ยวกับการจัดตู้ยาประจำบ้าน ซึ่งจะครอบคลุมช่วยให้ชีวิตรอดพ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ และแม้กระทั้งความตายได้ในบางครั้ง ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 629
  • 630
  • 631
  • 632
  • 633
  • 634
  • 635
  • 636
  • 637
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

ป้ายคำ

ข้อ ความดันเลือดสูง ความสุข จีเอ็มโอ ดัดตน ตา ต้อกระจก ต้อหิน ท้องผูก นม นมแม่ น้ำ บุหรี่ ประจำเดือน ปวดข้อ ปวดหลัง ผู้สูงอายุ ฝ้า ฟัน ภูมิแพ้ มะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มาลาเรีย ยา ยาคุมกำเนิด ยาปฏิชีวนะ ริดสีดวง ลดความอ้วน วัคซีน วัณโรค วิ่ง สมุนไพร สิว สุขภาพ ออกกำลังกาย อาหาร อ้วน เด็ก เบาหวาน เหล้า เอดส์ โยคะ โรคกระเพาะ โรคลมชัก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ ไข้หวัดนก ไมเกรน
ป้ายคำเพิ่มเติม

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa