-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
326
มิถุนายน 2549
โรคมือ-เท้า-ปากโรคมือ-เท้า-ปาก เป็นไข้ออกผื่นชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในเด็กเล็กซึ่งติดต่อกันง่าย แต่มักไม่รุนแรงและหายได้เองเป็นส่วนใหญ่ ส่วนน้อยที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงนับแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา มีข่าวการระบาดของโรคนี้ซึ่งมีความรุนแรงถึงเสียชีวิตในหมู่เด็กเล็กของประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง ออสเตรเลีย จึงกลายเป็นโรคฮิตติดอันดับโรคหนึ่ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
325
พฤษภาคม 2549
โรคโบทูลิซึม : อาหารเป็นพิษต่อประสาทในช่วงกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา มีข่าวครึกโครมเกี่ยวกับการป่วยเฉียบพลันของหมู่คนกว่า ๒๐๐ คน ที่ไปร่วมงานฉลองพระธาตุเมล็ดข้าวที่อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน ผู้ป่วยเหล่านี้แห่กันเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลหลายแห่ง และมีอยู่ ๔๐ คน ที่มีอาการหนักจนต้องถูกนำส่งทางเครื่องบินไปรักษาต่อที่กรุงเทพฯ จากการสอบสวน พบว่า ต้นเหตุของโรคเกิดจากพิษของเชื้อแบคทีเรีย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
มีอาการเจ็บคอเล็กน้อยถึงปานกลาง และไม่เจ็บตอนกลืน อาจมีอาการเป็นหวัด น้ำมูกใส ไอ เสียงแหบ มีไข้ ปวดศีรษะเล็กน้อยตาแดง บางคนอาจมีอาการท้องเดินหรือถ่ายเหลวร่วมด้วยอาการไข้และเจ็บคอ ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส รวมทั้งไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ ซึ่งอาการเจ็บคอจะเป็นเพียงเล็กน้อย แต่ถ้ามีอาการเจ็บคอมาก จนกลืนหรือพูดลำบาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
323
มีนาคม 2549
เชื้อมาลาเรียสามารถติดต่อ โดยยุงก้นปล่องกัดคนที่เป็นโรคนี้ ดูดเลือดที่มีเชื้อจากคนเข้าไปในตัวยุง แล้วเชื้อมีการเจริญแพร่พันธุ์ในตัวยุง เมื่อยุงมากัดคนใหม่ก็จะแพร่เชื้อเข้ากระแสเลือดของคนคนนั้นมาลาเรีย เป็นโรคติดเชื้อร้ายแรงชนิดหนึ่ง ที่มียุงก้นปล่องซึ่งอยู่ตามป่าเขาเป็นพาหะนำโรค โรคนี้มักเกิดกับประชากรที่อยู่ในเขตป่าเขา หรือผู้ที่เดินทางเข้าไปในเขตป่าเขา จึงเรียกกันว่า ไข้ป่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
322
มีนาคม 2549
http://www.doctor.or.th/article/detail/5435หัดเยอรมันเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากไวรัสชนิดหนึ่ง มีอาการไข้ และผื่นขึ้นคล้ายหัด แต่มีความรุนแรงและโรคแทรกซ้อนน้อยกว่าหัด ถือเป็นโรคไม่ร้ายแรง ถ้าเกิดกับเด็กหรือผู้ใหญ่ทั่วไป มักจะหายได้เองโดยไม่มีโรคแทรกซ้อนที่รุนแรง ที่สำคัญคือ ถ้าเกิดกับหญิงตั้งครรภ์ในระยะ ๓ เดือนแรก อาจทำให้ทารกในครรภ์ตายหรือพิการได้#ชื่อภาษาไทย หัดเยอรมัน, ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
321
มกราคม 2549
คางทูมเป็นโรคที่พบบ่อยในเด็ก ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัสของต่อมน้ำลายที่อยู่บริเวณข้างหู และอาจรวมทั้งต่อมน้ำลายที่อยู่ใต้ลิ้นและใต้คาง ทำให้เกิดอาการอักเสบบวมของบริเวณคาง ดูคล้ายคางทูม โรคนี้มักจะหายได้เองเป็นส่วนใหญ่ การรักษาแบบพื้นบ้าน เช่น เขียนเสือที่ข้างแก้ม เสกปูนแดงป้ายหรือใช้ครามป้ายแล้วได้ผล ก็เพราะธรรมชาติของโรคนี้ที่สามารถหายได้เองนั่นเอง อย่างไรก็ตาม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
331
มกราคม 2549
บ้านหมุน (vertigo) หมายถึง อาการวิงเวียน เห็นพื้นหรือเพดานบ้านหมุน หรือสิ่งรอบตัวหมุน อาจเกิดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ หรือนานเป็นชั่วโมงๆ หรือเป็นวันๆ ทั้งนี้ขึ้นกับโรคที่เป็นสาเหตุ ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของสมอง และหูชั้นใน ในส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว และรับรู้ทิศทางการเคลื่อนไหวของร่างกายสาเหตุที่พบได้บ่อยสุดของอาการบ้านหมุน ก็คือ “โรคบ้านหมุนจากการเปลี่ยนท่า” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
คำว่า "เป็นลม" ในที่นี้หมายถึงอาการอยู่ๆก็หมดสติทรุดลงกับพื้น ซึ่งเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน และเป็นอยู่ชั่วประเดี๋ยวเดียว ก็ฟื้นคืนสติได้เป็นปกติ มีสาเหตุได้ต่างๆ ถ้าพบในคนอายุต่ำกว่า ๓๐ ปี มักเกิดจากสาเหตุที่ไม่ร้ายแรง แต่พบในคนสูงอายุ อาจจะเกิดจากสาเหตุร้ายแรง เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้นชื่อภาษาไทย เป็นลม ชื่อภาษาอังกฤษ Syncope, Faintingสาเหตุ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
319
พฤศจิกายน 2548
มะเร็งกระเพาะอาหาร หมายถึง มะเร็งที่เกิดขึ้นตรงบริเวณเยื่อบุภายในโพรงกระเพาะอาหารเป็นมะเร็งที่พบได้พอประมาณ มักพบในคนอายุมากกว่า ๔๐ ปีขึ้นไป ในบ้านเรามักจะตรวจพบผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งชนิดนี้ในระยะสุดท้าย เนื่องจากผู้ป่วยมักจะมาหาหมอเมื่อมีอาการปรากฏชัดเจน ได้แก่ อาการปวดท้องและน้ำหนักลด ซึ่งเป็นระยะที่มะเร็งลุกลามไปมากแล้ว จนสุดจะเยียวยารักษาได้ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคนี้ (เช่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
317
กันยายน 2548
กลุ่มอาการ สตีเวนส์จอห์นสันเด็ก ๒ คนนี้ก็คือ ผู้ป่วย ๒ รายแรกที่ป่วยด้วยโรคที่เรียกว่า "กลุ่มอาการ สตีเวนส์จอห์นสัน" ซึ่งแพทย์รุ่นหลังได้ตั้งชื่อตามแพทย์ ๒ ท่านดังกล่าวโรคนี้จัดเป็นภาวะรุนแรงที่มีอัตราตายและภาวะแทรกซ้อนค่อนข้างสูง พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ชื่อภาษาไทยกลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสันชื่อภาษาอังกฤษ Stevens-Johnson syndrome (SJS), Erythema ...