Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » สารานุกรมทันโรค

สารานุกรมทันโรค

  • เล็ปโตสไปโรซิส

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 295 พฤศจิกายน 2547
    เล็ปโตสไปโรซิสเล็ปโตสไปโรซิส หรือไข้ฉี่หนู ความจริงเป็นโรคติดต่อที่มีมาแต่เก่าก่อน แต่เพิ่งจะมาโด่งดังในช่วงไม่กี่ปีมานี้ เนื่องเพราะมีคนที่เจ็บป่วยด้วยโรคนี้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างผิดสังเกต โดยเฉพาะในพื้นที่หลายจังหวัดทางภาคอีสาน และขณะนี้ก็พบในทุกภูมิภาคแล้ว ในช่วงเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดภาวะน้ำท่วมหรือมีน้ำขัง อาจพบโรคนี้แพร่กระจายได้มากขึ้น ...
  • ไข้หวัดนก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 307 พฤศจิกายน 2547
    ไข้หวัดนก หรือไข้หวัดใหญ่สัตว์ปีกจัดเป็นไข้หวัดใหญ่ชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอสายพันธุ์ H5N1 อันเป็นสายพันธุ์ใหม่ที่แพร่จากสัตว์ปีกมาสู่คน พบระบาดครั้งแรกที่เกาะฮ่องกงเมื่อต้นปี ๒๕๔๐ (มีผู้ป่วย ๑๘ ราย ตาย ๖ ราย) เมื่อต้นปี ๒๕๔๗ พบระบาดในเวียดนาม (ป่วย ๒๓ ราย ตาย ๑๖ ราย) และไทย (ป่วย ๑๒ ราย ตาย ๘ ราย) และเมื่อ เร็วๆ นี้ (กันยายน-ตุลาคม) ...
  • บาดทะยัก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 294 ตุลาคม 2547
    บาดทะยัก บาททะยัก เป็นโรคอันตรายร้ายแรงชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้เป็นครั้งคราวในคนที่มีบาดแผลตามร่างกายแล้วขาดดารดูแลอย่างถูกต้อง เมื่อเกิดบาดแผลหากรู้จักดูแลรักษาแต่เนิ่นๆ และมีการฉีดยาป้องกันตามจำเป็น ก็มักจะปลอดภัยจากการถูกโรคนี้เล่นงานได้ชื่อภาษาไทย บาดทะยักชื่อภาษาอังกฤษ Tetanusสาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อบาดทะยัก ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “คลอสตริเดียมเตตานิ ...
  • ปอดอักเสบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 306 ตุลาคม 2547
    ปอดอักเสบปอดอักเสบ หมายถึง การอักเสบของเนื้อปอดซึ่งประกอบด้วยถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบถุงลมปอดมีหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนอากาศเมื่อมีการอักเสบ (บวมและมีหนองขัง) ก็ทำให้เกิดอาการหายใจหอบ หายใจลำบากจัดว่าเป็นภาวะร้ายแรงและเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันหนึ่งของคนเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันโรคต่ำอย่างไรก็ตาม โรคนี้ถ้าตรวจพบในระยะแรกเริ่ม ...
  • มะเร็งปากมดลูก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 293 กันยายน 2547
    มะเร็งปากมดลูกมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับแรกของกลุ่มโรคมะเร็งในผู้หญิงไทย พบมากในช่วงอายุ ๓๕-๕๐ ปี โดยเฉพาะในกลุ่มหญิงที่แต่งงานหรือมีเพศสัมพันธ์แล้ว ในปี ๒๕๔๑ พบว่า มีผู้หญิงไทยตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกกว่า ๔,๐๐๐ คน คนไข้ส่วนใหญ่มักจะปล่อยให้มีอาการมากแล้ว จึงค่อยมาพบแพทย์ ซึ่งจะตรวจพบว่าเป็นมะเร็งในระยะท้ายๆ ทำให้การรักษามีความยุ่งยาก ทุกข์ทรมาน สิ้นเปลืองและไม่ได้ผลเท่าที่ควร ...
  • ส่าไข้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 305 กันยายน 2547
    ส่าไข้ส่าไข้ เป็นโรคที่พบได้บ่อยในทารก เด็กจะมีอาการไข้สูงอยู่ 3-5 วัน พอไข้ลดก็จะมีผื่นแดง (ส่า) ขึ้นตามตัว ผู้ปกครองมักจะพาเด็กไปหาหมอ ตอนมีผื่นด้วยเกรงว่าจะเป็นหัด ทั้งๆ ที่เด็กมีอาการสบายดีแล้ว โรคนี้มักไม่มีอันตรายร้ายแรงอะไร นอกจากอาจมีอาการชักจากไข้⇒ ชื่อภาษาไทย⇒ส่าไข้, ไข้ผื่นกุหลาบในทารก, หัดเทียม⇒ชื่อภาษาอังกฤษ⇒ Exanthem subitum, Roseolar ...
  • บิดชิเกลล่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 304 สิงหาคม 2547
    บิด หมายถึงอาการ ถ่ายอุจจาระกะปริดกะปรอย ออกเป็นมูกหรือมูกปนเลือด ร่วมกับมีความรู้สึกปวดเบ่งถ่าย (อยากถ่าย) อยู่เกือบตลอดเวลา สาเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากโรคบิดชิเกลล่า ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิด หนึ่ง อาจมีความรุนแรงในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ เป็นโรคที่สามารถป้องกันและดูแลรักษาได้ด้วยวิธีง่ายๆ ชื่อภาษาไทย บิดชิเกลล่า, บิดไม่มีตัว*ชื่อภาษาอังกฤษ ...
  • นิ่วน้ำดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 303 กรกฎาคม 2547
    นิ่วน้ำดีถุงน้ำดี มีหน้าที่เก็บสะสมน้ำดีที่ตับสร้าง ไว้ใช้ประโยชน์ในการย่อยอาหารไขมัน น้ำดีประกอบด้วยสารโคเลสเตอรอล กรดน้ำดี สารฟอสโฟไลปิด และสารอื่นๆ ในบางคนสารเคมีเหล่านี้จะมีสัดส่วนที่ไม่สมดุลกัน เป็นเหตุให้ตกผลึกจนจับตัวเป็นก้อนนิ่วขึ้นได้ ก้อนนิ่วอาจมีขนาดเท่าเม็ดทรายจนถึงลูกปิงปองจำนวนอาจมีเพียงก้อนเดียวหรือหลายก้อนก็ได้ บางคนอาจมีก้อนนิ่วขนาดเม็ดทรายเป็น 100 เม็ดก็ได้ ...
  • ไส้ติ่งอักเสบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 301 พฤษภาคม 2547
    ไส้ติ่งอักเสบนพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพไส้ติ่งอักเสบพบเป็นสาเหตุอันดับแรกๆ ของโรคปวดท้อง ที่ต้องรักษาด้วยวิธีผ่าตัดเร่งด่วน บ่อยครั้งที่พบว่าผู้ป่วยปล่อยให้มีอาการปวดท้องนานหลายวันแล้วค่อยมาโรงพยาบาล ซึ่งมักจะพบว่าเป็นถึงขั้นไส้ติ่งแตกเสียแล้ว ดังนั้น ใครก็ตามที่มีอาการปวดท้องมากติดต่อกันนานเกิน6 ชั่วโมงขึ้นไป ก็ควรจะรีบไปพบแพทย์ใกล้บ้าน เนื่องเพราะถ้าไม่เป็นไส้ติ่งอักเสบ ...
  • ชักจากไข้

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 300 เมษายน 2547
    ชักจากไข้เด็กเล็กอายุ ๖ เดือน ถึง ๕ ขวบ บางคนเวลาตัวร้อน (เป็นไข้) จะมีอาการชักกระตุกอยู่สักพักหนึ่งก็หายไปได้เอง พ่อแม่ผู้ปกครองที่พบลูกหลานมีอาการแบบนี้มักจะตกอกตกใจ และกังวลว่าโตขึ้นเด็กจะกลายเป็นโรคลมชัก หรือสติปัญญาทึบหรือไม่ จริงๆ แล้วอาการชักจากไข้เป็นสิ่งที่ไม่มีอันตราย และมีผลกระทบต่อสมองน้อยมากชื่อภาษาไทย ชักจากไข้, ชักจากไข้สูงชื่อภาษาอังกฤษ Febrile ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • สุขกาย-สบายใจ
  • สุขภาพกับความงาม
  • สุขภาพของช่องปาก
  • สุขภาพดี
  • สุขภาพปากและฟัน
  • สุขภาพผู้สูงอายุ
  • สุขภาพเป็นเรื่องง่าย
  • สู่โลกสีเขียว
  • หญิงอ่านดี..ชายอ่านได้
  • หน้าต่างวิจัย
  • หมอตุ๋ยคุยเรื่องฟัน
  • หมอพันธุ์ใหม่กับการสร้างเสริมสุขภาพ
  • ออกกำลังกาย
  • อาชีวเวชศาสตร์ปริทัศน์
  • อาหารปลอดสารพิษ
  • ‹‹
  • 10 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa