Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เข้าครัว

เข้าครัว

  • แกงจืดแตงกวายัดไส้หมู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 354 ตุลาคม 2551
    แตงกวา ผักสามัญประจำครัวเรือนไทยเป็นผักที่มีน้ำมาก และที่น่ามหัศจรรย์กว่านั้นคือ น้ำจากแตงกวามีคุณสมบัติเย็น และรักษาความสดไว้ได้นานเมื่อเทียบกับผักชนิดอื่นๆ แตงกวาลูกเล็กสด มีรสชาติที่ดีและอร่อย ส่วนแตงกวาลูกใหญ่ เช่น แตงร้าน รสชาติจะไม่เข้มข้นและอาจมีรสขมแทรกได้คนทางเอเชียนิยมกินแตงกวาทั้งสดและปรุงสุก เช่น ในประเทศจีนกินแตงกวาต้ม ผัด ตุ๋น และอบ ส่วนคนไทยกินแตงกวาหลากหลายรูปแบบ เช่น แตงกวาดอง ...
  • ก๋วยเตี๋ยวหลอดทรงเครื่อง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 353 กันยายน 2551
    ก๋วยเตี๋ยวหลอดทรงเครื่องจัดเป็นอาหารจานเดียวได้อย่างสบายๆ ลักษณะหน้าตาของมันจริงๆ แล้วไม่ได้เป็นหลอดๆเลย อาจเป็นเพราะสมัยก่อนนิยมนำแผ่นก๋วยเตี๋ยวมาห่อกับไส้แล้วม้วนเป็นท่อนยาวเป็นหลอดๆ ...
  • บะหมี่กรอบราดหน้าทะเล

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 352 สิงหาคม 2551
    บะหมี่เป็นผลิตภัณฑ์อาหารประเภทเส้นที่ชาวจีนคิดค้นขึ้นมา ประกอบด้วย แป้งสาลี และน้ำ เป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่ อาจมีไข่ เกลือ และสารละลายด่างหรือสีผสมอาหารประกอบอยู่ด้วยก็แล้วแต่สูตรกรรมวิธีการทำบะหมี่มี 4 ขั้นตอนหลัก คือ1. การผสม2. การรีดให้เป็นแผ่นบาง3. การตัดให้เป็นเส้น4. การทำให้แห้งหรือการทำให้สุกบะหมี่ที่เราเห็นขายตามรถเข็นทั่วๆ ไปเรียกกันว่า บะหมี่สด คือ ...
  • ฉู่ฉี่ปลาอินทรี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 351 กรกฎาคม 2551
    ผู้เขียนขอแนะนำอาหารอร่อยของคนโบราณ ซึ่งปัจจุบันนี้ไม่ค่อยมีคนรู้จักเครื่องปรุงของแกงฉู่ฉี่ ที่จริงก็แบบเดียวกับแกงคั่วหรือแกงเผ็ดทั่วไป ส่วนผสมของเครื่องแกงสมัยก่อนจะโขลกมะพร้าวขูดปนไปกับเครื่องแกงเพื่อทำให้น้ำแกงข้น ตามแบบฉบับของแกงฉู่ฉี่ แต่ในปัจจุบัน เราจะแนะนำอาหารเพื่อสุขภาพจึงไม่ใช้มะพร้าว ใช้เป็นกะทิธัญพืชแทน การปรุงรสอาหารไทยโบราณใช้น้ำตาลปี๊บ รสชาติจะกลมกล่อม หอม ไม่ใช้น้ำตาลทราย ...
  • หอยลายผัดน้ำพริกเผา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 350 มิถุนายน 2551
    เมนูอาหารจานนี้เป็นอาหารที่ชวนกินอีกหนึ่งเมนู เป็นอาหารประเภทหอย หอยมีทั้งหอยน้ำจืดและหอยน้ำเค็ม หอยน้ำจืด เช่น หอยขม หอยโข่ง หอยน้ำเค็ม เช่น หอยแมลงภู่ หอยแครง หอยนางรม หอยลายหอยมักมีสิ่งสกปรกอยู่มาก การเลือกซื้อให้เลือกหอยที่หุบปากแน่น เมื่อวางไว้จะอ้าและหุบอย่างรวดเร็ว เมื่อเอามือไปแตะ ไม่มีกลิ่นเหม็น หอยที่แกะเปลือกแล้วต้องมีสีสดใส น้ำที่แช่ไม่มีเมือกและกลิ่นเหม็น ...
  • หน่อไม้ฝรั่งผัดกุ้ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 349 พฤษภาคม 2551
    หน่อไม้ฝรั่งมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า แอสพารากัส (Asparagus) เป็นพืชพื้นเมืองแถบยุโรปและแอฟริกา แหล่งที่นิยมปลูกกันมากในประเทศไทยจะอยู่แถว ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี ชลบุรี และนนทบุรีหน่อไม้ฝรั่งเป็นพืชที่เราใช้หน่ออ่อนมาทำเป็นอาหาร โดยจะเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุ 10 เดือนขึ้นไป จะมี 2 ชนิดคือ หน่อขาวและหน่อเขียวหน่อขาว จะเก็บหน่อที่โผล่พ้นดินขึ้นมาประมาณ 1 เซนติเมตร ...
  • บะหมี่ผัดขี้เมา

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 348 เมษายน 2551
    บะหมี่ผัดขี้เมาเป็นอาหารจานเดียวชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน กินง่าย สะดวก รวดเร็ว ในเรื่องของรสอาหารควรจะทำให้มีรสกลางๆ อาหารจานเดียวในแง่ของ นักโภชนาการคืออาหารครบ ๕ หมู่ของไทย คือมีข้าวหรือแป้ง เนื้อสัตว์ ไขมันผักใบเขียวหรือผลไม้ บางครั้งในอาหารจานเดียวไม่สามารถที่จะใส่ผักใบเขียวในอาหารนั้นได้ จึงนิยมจัดผลไม้สด เช่น มะละกอ สับปะรด ...
  • เต้าหู้ทรงเครื่อง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 347 มีนาคม 2551
    ศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลเต้าหู้ทรงเครื่องเต้าหู้ เป็นอาหารนานาชาติ สำหรับในอาหารไทยเราสามารถนำเต้าหู้มาปรุงอาหารได้ โดยใช้เป็นตัวประกอบกับเครื่องปรุงอื่นๆ เช่น ผัดเปรี้ยวหวาน ผัดผักรวมมิตร เป็นต้น ทั้งยังนำมาเป็นเครื่องปรุงหลัก เช่น เต้าหู้ทอด เต้าหู้ทรงเครื่อง เป็นต้น ด้วยอาหารไทยนี้สามารถนำเอาวัฒนธรรมการกินของหลายๆ ...
  • ผัดคะน้าหมูกรอบ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 345 มกราคม 2551
    ผัดคะน้าหมูกรอบคงไม่มีใครปฏิเสธว่าไม่รู้จัก "ผักคะน้า" เพราะผักคะน้ามีขายอยู่ทั่วไป หาซื้อง่ายและสามารถนำไปประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น ก๋วยเตี๋ยวชนิดต่างๆ ผัดกับหมูกรอบ หรือแม้กระทั่งนำไปทำเป็นยำหรือใบเมี่ยงก็ได้ ราคาไม่แพง รสชาติดีผักคะน้าเป็นผักที่ปลูกได้ทุกท้องที่และทุกภูมิอากาศ ใช้เวลาในการปลูกและเก็บเกี่ยวสั้น ใช้พื้นที่ในการปลูกไม่มาก แต่ก็มีศัตรูพืชมากเช่นกัน ...
  • ครองแครงถั่วเขียว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 344 ธันวาคม 2550
    ศศพินทุ์ ดิษนิล, ริญ เจริญศิริ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลครองแครงถั่วเขียวปัจจุบันผู้คนต่างคำนึงถึงสุขภาพของตนเองมากขึ้น แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและอิทธิพลของวัฒนธรรมจากตะวันตก ทำให้มีปัจจัยในการเสี่ยงของโรคต่างๆ มากขึ้น เช่น โรคอ้วน โรคความดันเลือดสูง โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ซึ่งโรคเหล่านี้มีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากพฤติกรรมการกินที่ไม่เหมาะสม ธัญพืชต่างๆ ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • คุยกับหมอพินิจ
  • คุยกับหมอไพโรจน์
  • คู่มือครอบครัว
  • คู่มือหมอครอบครัว
  • จดหมายจากจอน
  • จดหมายเหตุเวชกรรมไทย
  • จิตวิทยา
  • จิตใจและกามารมณ์ในคนแก่
  • ฉลาดรู้
  • ฉลาดใช้... ยา
  • ชีพจร UC
  • ชีวิตปลอดภัยถ้าใส่ใจปฐมพยาบาล
  • ชี้ทิศ รู้สิทธิ
  • ดุลชีวิต
  • ด้วยรักและเกื้อกูล
  • ‹‹
  • 3 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa