Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เข้าครัว

เข้าครัว

  • น้ำพริกมะขาม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 320 ธันวาคม 2548
    น้ำพริกมะขามมีความคล้ายกับน้ำพริกกะปิแต่ต่างกันตรงที่ใช้มะขามสดในการให้ความเปรี้ยวแทนมะนาว จะมีลักษณะข้น ค่อนข้างแห้งนิดๆ ใช้เป็นน้ำพริกคลุกข้าวได้ สมัยโบราณจะมีเฉพาะน้ำพริกมะขามสดชนิดที่ไม่ต้องนำไปผัดในน้ำมัน เพียงใส่มะขามสดขูดผิวลงไปเท่านั้น แต่ในปัจจุบันได้มีการดัดแปลงสูตรและวิธีการทำ โดยการเติมเนื้อสัตว์ลงไป เช่น หมูสับ กุ้งสับ ปลาป่น แล้วนำไปผัดกับน้ำมันจนกระทั่งสุก ...
  • ปั้นขลิบทอด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 319 พฤศจิกายน 2548
    ปั้นขลิบทอดเป็นอาหารว่างชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้าย กะหรี่ปั๊บแต่ต่างกันที่ตัวเล็กกว่าและไม่มีลวดลายเป็นชั้นๆ ไส้ที่นิยมมีอยู่ ๒ ไส้ คือ ไส้หมูและไส้ปลา มีขนาดพอดีคำ แป้งจะกรอบแข็งมากกว่ากะหรี่ปั๊บ ...
  • กะหรี่ปั๊บ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 318 ตุลาคม 2548
    กะหรี่ปั๊บกะหรี่ปั๊บ เป็นอาหารว่างชนิดหนึ่ง เป็นได้ทั้งอาหารว่างคาวหรืออาหารว่างหวานแล้วแต่จะใส่ไส้อะไร เป็นอาหารที่ค่อนข้างนิยมและเป็นที่รู้จักของผู้บริโภค สามารถกินได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนของไส้จะมีรสเค็ม หวาน มีกลิ่นหอมของผงกะหรี่ ส่วนแป้งจะกรอบและเป็นชั้นสวยงาม เมื่อก่อนจะใช้น้ำมันหมูเจียวใหม่ๆ มานวดแป้ง แต่ในปัจจุบันใช้น้ำมันพืชแทนเนื่องจากน้ำมันหมูมีโคเลสเตอรอลสูง ...
  • ขนมชั้นใบเตย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 317 กันยายน 2548
    ขนมชั้นใบเตยขนมชั้นเป็นอาหารหวานของไทยที่มีมาแต่โบราณ นิยมนำมาใช้ในงานมงคลต่างๆ ในปัจจุบันเราจะหาขนมชั้นที่อร่อยๆกินกันค่อนข้างยาก ขนมชั้นมีวิธีการทำที่ค่อนข้างยุ่งยาก และต้องอาศัยความชำนาญและประสบการณ์พอสมควร โดยเฉพาะการหยอดแป้งแต่ละชั้น ปริมาณของแป้งต้องเท่ากัน จึงจะได้ชั้นที่สวยและสุกทั่วกัน ลักษณะที่ดีของขนมชั้น คือ ขนมทุกชั้นจะต้องสุกและลอกได้เป็นชั้นๆ หน้าเรียบเสมอ ...
  • ขนมจีนน้ำพริก

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 316 สิงหาคม 2548
    ขนมจีนน้ำพริกขนมจีนน้ำพริกเป็นอาหารไทยที่มีมานานแล้ว แต่ในปัจจุบันกลับไม่เป็นที่นิยม อาจเนื่องมาจากขนมจีนน้ำพริกมีวิธีการทำที่ยุ่งยาก ใช้เวลา มีส่วนผสมหลายอย่างและปรุงให้มีรสชาติที่อร่อยกลมกล่อมค่อนข้างยาก ส่วนประกอบเครื่องปรุงก็มีหลายอย่าง ได้แก่ ผิวมะกรูด หอมเผา กระเทียมเผา ระกำ ข่าอ่อนเผา และที่สำคัญคือส้มซ่า ซึ่งปัจจุบันหาซื้อได้ค่อนข้างยาก แต่ถ้าหาไม่ได้ใช้น้ำมะกรูดแทนก็ได้ ...
  • ขนมปังหน้าหมู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 315 กรกฎาคม 2548
    ขนมปังหน้าหมูได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ มีลักษณะที่ชวนกิน วิธีทำก็ไม่ยากถ้าไม่ชอบหมูจะดัดแปลงเป็นหน้าอื่นๆ ก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นหน้าไก่ หน้ากุ้งแล้วแต่ความชอบ ขนมปังหน้าหมูจะอร่อยหรือไม่ขึ้นอยู่กับการปรุงรสของหมู ต้องมีกลิ่นหอมรากผักชี พริกไทย กระเทียม อาจาดต้องมีรสกลมกล่อม และขนมปังต้องกรอบไม่อมน้ำมัน ขนมปังที่นำมาทำต้องหั่นเป็นชิ้นพอคำแล้วนำไปตากแดดจนขนมปังแห้ง เพื่อตอนทอดจะได้ไม่อมน้ำมัน ...
  • ถั่วแปบไส้กุ้ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 314 มิถุนายน 2548
    ถั่วแปบไส้กุ้งถั่วแปบไส้กุ้งเป็นอาหารว่างคาว บางท่านอาจไม่เคยเห็นว่าถั่วแปบไส้กุ้งมีด้วยหรือ เพราะเคยเห็นแต่ถั่วแปบที่มีไส้ถั่วเขียวเลาะเปลือกนึ่งโรยด้วยน้ำตาลเวลากินเท่านั้น ถั่วแปบไส้กุ้งมีลักษณะภายนอกเหมือนถั่วแปบไส้ถั่วทุกอย่างต่างกันก็แต่ข้างในเป็นไส้กุ้ง เวลากินจะหยอดหน้าด้วยกะทิ รสชาติจะออกเค็มๆ ตัวไส้มีกลิ่นหอมของรากผักชีพริกไทย กระเทียม กินเป็นอาหารว่างบ่ายคู่กับชาสมุนไพรอุ่นๆ ...
  • ม้าห้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 313 พฤษภาคม 2548
    ม้าห้อม้าห้อแค่ได้ยินชื่อก็คงสงสัยว่าเป็นอาหารอะไร ลักษณะเป็นอย่างไร จะขออธิบายคร่าวๆ ว่า ม้าห้อเป็นอาหารที่ใช้กินเล่นหรือจัดเคียงสำรับอาหารคาวก็ได้ ใช้สับปะรดหั่นเป็นชิ้นๆ ขนาด พอคำ มีไส้ปั้นเป็นก้อนกลมวางไว้บนสับปะรด แต่งหน้าด้วยใบผักชีและพริกชี้ฟ้าหั่นเป็นเส้น ไส้ของม้าห้อจะผัดไว้แล้วแช่ตู้เย็นไว้กินได้นานๆ ถ้าไม่ใส่บนสับปะรดก็จะใส่ในส้มเขียวหวานที่มีรสค่อนข้างเปรี้ยว ...
  • กระทงทอง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 312 เมษายน 2548
    กระทงทองเป็นอาหารว่างของไทยที่หากินได้ค่อนข้างยาก ส่วนมากจะทำขายเฉพาะร้านที่จำหน่างอาหารไทย ราคาต่อจานค่อนข้างแพง ประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นกระทงทำจากแป้งและส่วนที่เป็นไส้ ไส้กระทงทองสามารถดัดแปลงได้หลายชนิด แต่ที่นิยมคือ ไส้ข้าวโพดสิ่งสำคัญของกระทงทองคือ ตัวกระทงที่ต้องทอดใหม่ๆ ถ้าทอดทิ้งไว้ไม่ควรเกิน ๒ วัน เพราะจะมีกลิ่นเหม็นหืนไม่น่ากิน ไส้ของกระทงทองจะมีรสเค็ม หวาน หอมกลิ่นรากผักชี พริกไทย ...
  • ข้าวเกรียบปากหม้อ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 311 มีนาคม 2548
    ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • …
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ปัญหาวิชาการ
  • ปิยวาจาทางคลินิก
  • ผิวพรรณความงาม
  • ผิวสวย หน้าใส
  • ผู้สูงอายุ…สู่ชีวิตที่มีคุณภาพ
  • ผู้หญิงกับความงาม
  • พยาบาลในบ้าน
  • พันธุ์ดี..พันธุ์ศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
  • พิเศษวันเด็ก
  • พืช-ผัก-ผลไม้
  • พูดคนละภาษา
  • พูดจาประสาหมอๆ
  • พูดจาภาษายา
  • พูดจาภาษาหมอ
  • พ่อ-แม่-ลูก
  • ‹‹
  • 6 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa