-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
296
ธันวาคม 2546
กาหลา : งดงาม เรียบง่าย และทนทาน ปานสิ่งประดิษฐ์ปีนี้ฝนตกต่อเนื่องมาตั้งแต่ต้นปี และแทบจะไม่ทิ้งช่วงเกินครึ่งเดือนเลย ในบริเวณบ้านท่าเสด็จอันเป็นที่ตั้ง บ้านไทยของมูลนิธิข้าวขวัญ ซึ่งอยู่ท่ามกลางต้นไม้ใบหญ้าหลายสิบชนิด โดยเฉพาะไม้ดอกพื้นบ้านของไทย ซึ่งออกดอกให้ชื่นชมตามฤดูกาลติดต่อกันมาหลายปีแล้ว เนื่องจากปีนี้ฝนตกไม่ทิ้งช่วงเป็นเวลานานหลายเดือน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
292
สิงหาคม 2546
ต้อยติ่ง : ความงดงามที่มากับฤดูฝนปีนี้ฤดูฝนมาเร็ว เพราะฝนตกต่อเนื่องมาตั้งแต่ต้นปี แม้แต่เดือนที่ถือว่าเป็นหน้าแล้งหรือฤดูร้อนที่แท้จริงอย่างเดือนมีนาคม-เมษายน ก็ยังมีฝนตกลงมามากกว่าปกติ ถึงจะมีการทิ้งช่วงไปบ้างก็เพียงไม่กี่วัน เมื่อถึงเดือนพฤษภาคมฝนก็มีมากขึ้น จนอาจกล่าวได้ว่าปีนี้ฤดูฝนเริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้ ฝนยังตกกระจายทั่วทุกภาค ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
291
กรกฎาคม 2546
ประดู่ : ตำนานความหอมและบิดาแห่งราชนาวี"...วันไหนวันดี บานคลี่พร้อมอยู่วันไหนร่วงโรย กลีบโปรยรวงพรู"ที่ยกมาข้างบนนี้เป็นท่อนหนึ่งของเนื้อเพลงมาร์ชราชนาวีไทย ซึ่งมีอายุย้อนไปถึงครั้งสมัยรัชกาลที่ ๕ ขณะยังใช้ชื่อว่าประเทศสยาม หากจำไม่ผิดเพลงนี้แต่งโดยกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
290
มิถุนายน 2546
กันเกรา : สุดยอดของความหอมและเนื้อไม้คํ่าคืนหนึ่งเมื่อต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ผู้เขียนนั่งสนทนากับแขกและเพื่อนร่วมงานที่นอกชานบ้านทรงไทยของมูลนิธิข้าวขวัญ ซึ่งล้อมรอบด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด คืนนั้นอากาศร้อนอบอ้าวและลมอับไม่พัดมาจากทางใต้ตามฤดูกาลเหมือนคืนก่อน แม้ถึงจะไม่มีลมพัดเลย แต่กลิ่นหอมหวานของดอกไม้ชนิดหนึ่ง ก็ยังล่องลอยอบอวลอยู่ทั่วบริเวณบ้าน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
หงอนไก่ : ความงามและศักดิ์ศรีที่ผูกพันคนไทยขณะที่กำลังเขียนต้นฉบับอยู่นี้ (ปลายเดือนมีนาคม ๒๕๔๖) สงครามระหว่างอิรักกับฝ่ายพันธมิตร (สหรัฐอเมริกา-อังกฤษ-ออสเตรเลีย เป็นต้น) กำลังดำเนินอยู่อย่างดุเดือดทั้งในสนามรบและในสื่อมวลชนแขนงต่างๆ น่าสังเกตว่า ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ ๑ เป็นต้นมา สงครามแทบทุกครั้งมักจะมีประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้มีส่วนร่วมและมีบทบาทหลักอยู่เสมอ เช่น สงครามเกาหลี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
288
เมษายน 2546
บานไม่รู้โรย : ความงามที่ยั่งยืนฝืนกาลเวลาเดือนเมษายนเวียนมาถึงอีกครั้งหนึ่งหมายถึงการมาของเทศกาลสำคัญ ยิ่งสำหรับชาวไทยด้วย นั่นคือ สงกรานต์ หรือปีใหม่ของชาวไทยแต่เดิมตามปฏิทินทางจันทรคติ ซึ่งจะเปลี่ยนจากปีมะเมียไปเป็นปีมะแมเมื่อผ่านวันเพ็ญเดือนห้าเมื่อตอนผู้เขียนยังเป็นเด็กอยู่ในชนบท จำได้ว่าสงกรานต์เป็นช่วงที่สนุกสนานที่สุดในรอบปี เพราะเป็น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
287
มีนาคม 2546
ในภาษาไทยของเรามีถ้อยคำสำนวนที่คนไทยคุ้นเคย และใช้กันมานานอยู่จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีกำเนิดมาจากความช่างสังเกตของคนไทยที่มีต่อต้นไม้ ดอกไม้ โดยหยิบ เอาลักษณะเด่น หรือความพิเศษออกมาเปรียบเทียบกับลักษณะของอย่างอื่นหรือของมนุษย์ บางครั้งคนไทยปัจจุบันไม่รู้จักหรือคุ้นเคยกับต้นไม้หรือดอกไม้นั้นแล้ว แต่ยังคงคุ้นเคยและเข้าใจความหมายของสำนวนที่มาจากต้นไม้หรือดอกไม้นั้นได้ดีอยู่เช่นเดิม ตัวอย่างเช่น สำนวน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
286
กุมภาพันธ์ 2546
เดือนกุมภาพันธ์สำหรับคนไทยยุคนี้ คงจะถือเป็นเดือนแห่งความรัก เพราะมีวันวาเลนไทน์ หรือวันแห่งนักบุญวาเลนไทน์ (๑๔ กุมภาพันธ์) ซึ่งถือเป็นวันแห่งความรักอยู่ในเดือนนี้ ดูเหมือนคนไทยจะเฉลิมฉลองวันวาเลนไทน์กันจริงจัง และเอิกเกริกใหญ่โตยิ่งขึ้นทุกปี นับตั้งแต่มีผู้ริเริ่มให้ความสำคัญกับวันดังกล่าว ขึ้นเมื่อราวสิบกว่าปีมานี้การยอมรับวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนไทยนั้นไม่ใช่เรื่องแปลก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
285
มกราคม 2546
กล้วยไม้ : ดอกฟ้าที่โน้มลงสู่ชาวดินกลิ่นกล้วยไม้ หอมระรื่น ชื่นดวงจิตดุจได้มิตร สนิทเนื้อ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
284
ธันวาคม 2545
เดือนธันวาคม หรือเดือนอ้ายทางจันทรคติเป็นเดือนที่งดงามสดชื่นสำหรับชาวไทย เพราะเป็นเดือนแห่งฤดูหนาวที่อากาศเยือกเย็น ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดวงดาวเปล่งแสงเป็นประกายมองเห็นชัดเจนว่าช่วงอื่นของปี พื้นดินยังคงเขียวขจีเพราะเพิ่งหมดฝนไปไม่นาน ปีใดที่ฝนตกชุก เช่น ปี ๒๕๔๕ นี้อากาศมักจะหนาวเย็นกว่าปกติ คนไทยจะตื่นเต้นเนื่องจากหลายปีมานี้อากาศดูเหมือนจะร้อนมากขึ้นและยาวนานขึ้นเรื่อย ๆ ...