-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
326
มิถุนายน 2549
เฟื่องฟ้า ความงามของทุกฤดูกาล"เฟื่องฟ้าจะออกดอกตลอดปี ในประเทศไทยออกดอกมากช่วงเทศกาลตรุษจีน จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดอกตรุษจีน"เมื่อกล่าวถึงการแข่งขันฟุตบอลโลก แฟนบอลส่วนใหญ่จะนึกถึงประเทศบราซิล ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นสุดยอดทีมฟุตบอลของโลก เพราะได้ครองตำแหน่งแชมเปียน ฟุตบอลโลกมากที่สุดคือ ๕ สมัย ประเทศบราซิลนอกจากจะมีชื่อเสียงด้านความเก่งกาจของนักฟุตบอล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
325
พฤษภาคม 2549
โป๊ยเซียน : สุดยอดไม้ดอกแห่งความนับถือของชาวจีนเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๙ คนไทยที่นิยมปลูกไม้ดอกส่วนใหญ่ยังคงให้ความสนใจกับกระแส "ลีลาวดีฟีเวอร์" ต่างจากเมื่อครั้งที่เรียกชื่อว่า "ลั่นทม" อย่างสิ้นเชิง ทำให้นึกถึงไม้ดอกชนิดหนึ่งที่คนไทยมากมายเคยเสาะหามาปลูกกันอย่างกว้างขวางอยู่หลายปีก่อนที่จะค่อยๆ ลดความนิยมลงไป จนอยู่ในระดับปกติเช่นปัจจุบัน ไม้ดอกชนิดที่กล่าวถึงนั้น ก็คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
324
เมษายน 2549
เดือนเมษายนนับว่าเป็นเดือนที่ร้อนที่สุดของประเทศไทย และเป็นเดือนที่สว่างสดใสด้วยดอกไม้ยืนต้นหลายชนิด ที่ออกดอกเพียงปีละ ๑ ครั้ง ช่วยบรรเทาความร้อนลงได้จากความงามของไม้ดอก และประเพณีสงกรานต์ที่เก่าแก่ อันเป็นการเปลี่ยนปีใหม่ตามธรรมเนียมเดิมของไทยตามปกติทุกสัปดาห์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
323
มีนาคม 2549
ต้นฉบับต้นไม้ใบหญ้าตอนนี้ เขียนในวันวาเลนไทน์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
322
กุมภาพันธ์ 2549
"มกราคม" อันถือเป็นเดือนแรกตามปฏิทินสากลที่นับเวลาตามสุริยคติ มีคำทำนายจากโหรหลายท่าน แต่ส่วนใหญ่ออกมาเป็นเรื่องร้ายๆ ตลอดปี พ.ศ. ๒๕๔๙ทำให้ผู้เขียนเปลี่ยนจากการเขียนต้นไม้สำหรับวันแห่งความรัก มาเป็นต้นไม้ชนิดอื่น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
321
มกราคม 2549
“แก้วกาหลงชงโค ยี่สุ่นยี่โถโยธกา” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
320
ธันวาคม 2548
หนทางพิสูจน์ม้า กาลเวลาพิสูจน์คนสำนวนที่ยกมานี้เป็นสำนวนที่คุ้นเคยมากที่สุดสำนวนหนึ่ง แสดงให้เห็นว่าเรื่องของคนเรา ต้องอาศัยกาลเวลาเท่านั้น จึงจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นอย่างไรกาลเวลานั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตทุกชีวิต ยิ่งมีชีวิตอยู่มานานมากขึ้นเท่าใด ก็จะยิ่งรู้ซึ้งถึงความสำคัญของเวลามากขึ้นเท่านั้น คงเป็นเพราะรู้สึกว่ามีเวลาเหลือน้อยลงทุกทีนั่นเอง ย้อนกลับไปเมื่อ ๔๐ ปีที่แล้ว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
319
พฤศจิกายน 2548
"ดอกโสนบานเช้า ดอกคัดเค้าบานเย็น" คำพังเพยโบราณของชาวไทยภาคกลางข้างบนนี้ คนไทยสมัยก่อนได้ยินได้ฟังและคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
318
ตุลาคม 2548
ชงโค : เสน่ห์แห่งใบและดอกจากพงไพรผู้เขียนเคยนำเสนอเรื่องลั่นทมหรือต้นจำปา (ลั่นทม) ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติลาว แต่คนไทยปัจจุบันรู้จักในชื่อใหม่ว่า "ลีลาวดี" ขึ้นต้นคอลัมน์ว่าด้วยชื่อก็เพราะดอกไม้ไทยหลายชนิดมีคุณสมบัติต่างๆ มากมาย ทั้งความงามและคุณประโยชน์ แต่บังเอิญมีชื่อที่ไม่ถูกใจคนไทย หากมีการเปลี่ยนชื่อก็อาจได้รับความนิยมอย่างล้นหลามเช่นเดียวกับลีลาวดี (ลั่นทม) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
316
สิงหาคม 2548
ยี่โถ : ความงาม หอม ทนทานดอกไม้ที่จะเขียนถึงตอนนี้ ผู้เขียนย้อนความจำไปถึงช่วง พ.ศ.๒๕๐๕ ก็คือ ๔๓ ปีมาแล้ว เมื่อผู้เขียนยังเป็นเด็กบ้านนอก อยู่บ้านริมแม่น้ำสุพรรณ (ท่าจีน) เขตอำเภอบางปลาม้า ขณะนั้นบ้านหลังใหม่ที่เป็นตึกคอนกรีตเพิ่งสร้างเสร็จ หลังจากอยู่บ้านไม้ (สัก) มาตั้งแต่รุ่นปู่ นับเป็นตึกขนาดใหญ่และทันสมัยที่สุดของท้องถิ่นในขณะนั้น สิ่งที่ตามตัวตึกมาก็คือการจัดบริเวณรอบๆ ...