-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
314
กรกฎาคม 2548
พู่ระหง : ดอกไม้แห่งศักดิ์ศรีจากพญาหงส์"สุพรรณหงส์ทรงพู่ห้อย งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์ดั่งหงส์ทรงพรหมินทร์ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม"กาพย์เห่เรือบทที่ยกมาขึ้นต้นบทความตอนนี้ เขียนขึ้นจากความทรงจำช่วงเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษา เมื่อ ๔๐ ปีที่แล้ว จึงอาจจะผิดเพี้ยนคลาดเคลื่อนไปบ้าง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
315
กรกฎาคม 2548
บุนนาค :จากความงามและความหอมสู่ตระกูลใหญ่ตามประวัติศาสตร์ของชนชาติไทย มีบันทึกไว้ชัดเจนว่า แต่ก่อนไม่มีการใช้นามสกุลต่อท้ายชื่อมาแต่เดิม เพิ่งจะเริ่มใช้นามสกุลอย่างเป็นทางการในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ (รัชกาลที่ ๖) นี้เอง ซึ่งเป็นเวลาไม่ถึง ๑๐๐ ปีเท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงทำให้การสืบค้นย้อนกลับไปหาต้นกำเนิดของตระกูลคนไทยทำได้จำกัด ไม่สามารถย้อนกลับไปได้เป็นพันๆ ปีดังเช่น ชาวจีน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
313
พฤษภาคม 2548
ลั่นทม : ความหอมและความงามจากบทเพลงลั่นทมในบทเพลงสำหรับคนเมืองใหญ่เพลงไทยปัจจุบันมีหลากหลายกว่าแต่ก่อนมาก ในอดีตเพลงไทยแบ่ง เป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ เพลงลูกกรุงกับเพลงลูกทุ่ง เพลงแต่ละกลุ่มมีลักษณะเด่นๆ เฉพาะตัว และแยกกลุ่มผู้ฟังชัดเจน โดยเพลงลูกกรุงมีกลุ่มผู้ฟังเป็นคนที่อาศัยอยู่ในเมืองเป็นหลัก และเพลงลูกทุ่งมีกลุ่มผู้ฟังเป็นชาวชนบท ทั้งที่อาศัยอยู่ตามเรือกสวนไร่นา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
312
เมษายน 2548
"เจ้าการะเกด เจ้าขี่ม้าเทศ จะไปท้ายวัง ชักกริชออกแกว่งว่าจะแทงฝรั่ง เมียห้ามไม่ฟัง เจ้าการะเกดเอย" บทเพลงที่ยกมาข้างบนนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
311
มีนาคม 2548
...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
310
กุมภาพันธ์ 2548
"น้ำค้างพรมลมชายระบายโบกหอมดอกโศกเศร้าสร้อยละห้อยหวนเหมือนโศกร้างห่างเหเสน่ห์นวลมาถึงสวนโศกช้ำระกำทรวง"(นิราศพระประธม-สุนทรภู่)ผู้เขียนขอยกเอาบทกลอนข้างบนนี้มาขึ้นต้นคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าตอนนี้ ด้วยเหตุผลอย่างน้อย ๒ ประการ คือ ประการแรกเนื่องจากเดือนกุมภาพันธ์นับได้ว่าเป็นเดือนแห่งความรักของคนไทยรุ่นใหม่ ที่นิยมแสดงออกในวันวาเลนไทน์ (๑๔ กุมภาพันธ์) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
309
มกราคม 2548
"เจ้าลืมนอนซ่อนพุ่มกระทุ่มต่ำเด็ดใบบอนช้อนน้ำในไร่ฝ้าย..."บทกลอนข้างบนนี้เป็นตอนหนึ่งของเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน แต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เชื่อกันว่าเป็นสำนวนของครูแจ้ง เป็นตอนที่ขุนแผน กล่าวถึงความหลังเพื่อตัดพ้อต่อนางพิมที่มาแต่งงานอยู่กินกับ ขุนช้าง กลอนบทนี้ผู้ที่ชมชอบในวรรณคดีไทยต่างท่องจำกันได้ขึ้นใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
308
ธันวาคม 2547
เอาธูปเทียนบุปผาสุมาลัย ชวนกันไหว้พระแท่นแผ่นศิลาในระหว่างนางรังทั้งคู่ค้อม คำนับน้อมกิ่งก้านก็สาขา... ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
295
พฤศจิกายน 2547
ผกากรอง : ความงามที่มากับความทนทานข้ามทวีปประเทศไทยตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรของโลกจึงมีอากาศร้อนชื้น (humid tropical) มีแสงแดดตลอดปี และมีฝน ๔-๖ เดือน ในช่วงที่ขาดฝน อากาศก็ยังมีความชื้นมากพอสำหรับพืชพันธุ์ ส่วนใหญ่จะดำรงชีพอยู่ได้โดยอาศัยความชื้นจากธรรมชาติ (ทั้งในอากาศและใต้ดิน) ไม่ต้องผลัดใบเพื่อรักษาน้ำในลำต้นเอาไว้อย่างในเขตแห้งแล้ง พืชหลายชนิดเลือกออกดอกเฉพาะในฤดูแล้ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
294
ตุลาคม 2547
ผักตบชวา : ความงามบนผืนน้ำสำหรับทุกคน “เดือนสิบเอ็ดน้ำนอง เดือนสิบสองน้ำทรง”ข้อความข้างบนนี้เป็นส่วนหนึ่งของเพลงพื้นบ้าน ในแถบที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย มีมาแต่ครั้งใดไม่ปรากฏ แต่อย่างน้อยก็นับร้อยปี มีเนื้อหาแสดงถึงลักษณะธรรมชาติของที่ราบลุ่มภาคกลาง ซึ่งมีน้ำนองท่วมพื้นที่ริมแม่น้ำและท้องทุ่งนา ตั้งแต่เดือนสิบเอ็ด (ตุลาคม) และระดับน้ำจะสูงขึ้นเรื่อยๆจนคงที่ (น้ำทรง) ...