-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
01
มกราคม 2566
หลังจากที่ประเทศไทยเริ่มต้นใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 อย่างเข้มข้น ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็คือธุรกิจท่องเที่ยว ที่ผลจากมาตรการล็อกดาวน์ซึ่งจำกัดการเดินทางทั้งภายในประเทศ ทำให้ตัวเลขของนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เคยสูงถึง 40 ล้านคนต่อปี ลดลงอย่างมหาศาล และจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่งกลับมาได้เพียง 40% – 50% หลังจากรัฐบาลประกาศให้ โควิด-19 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
07
กรกฎาคม 2565
หลังจากมีการประกาศผ่อนปรนเรื่องการสวมหน้ากากอนามัยในที่สาธารณะ เช่น กลางแจ้ง สถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ให้เป็นไปตามความสมัครใจของประชาชน ตามนโยบายเปิดประเทศต้อนรับนักท่องเที่ยว และกลับสู่การใช้ชีวิตแบบปกติเหมือนกับที่หลายประเทศได้เริ่มไปก่อนหน้านี้แล้ว ปรากฏว่าสถานการณ์การติดเชื้อทั้งในกรุงเทพมหานครฯ และต่างจังหวัดมีอัตราการติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
08
กรกฎาคม 2565
เดือนกรกฎาคม ปี 2565 ถือว่าเป็นเดือนที่มีวันหยุดยาวต่อเนื่องมากที่สุดของปีนี้ ทำให้มีการเดินทางออกไปต่างจังหวัดของประชาชนจำนวนมาก ภายใต้การกลับมาระบาดใหม่อีกครั้งของ COVID-19 สายพันธุ์โอมิครอน BA.4 BA.5 ที่ทั้งรุนแรง และแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วกว่าสายพันธุ์ BA.1 BA.2 ที่เราเคยเจอมา แม้ว่าปัจจุบัน ภาครัฐจะมีการผ่อนปรนมาตรการการสวมหน้ากากอนามัยในที่สาธารณะ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
04
กุมภาพันธ์ 2565
จาก “Pandemic” สู่ “Endemic”ทำความเข้าใจก่อน COVID-19 ถูกถอดออกจากสิทธิ UCEPในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา มีความกังวล และความไม่สบายใจเกิดขึ้นกับประชาชนทั่วไปจำนวนมาก เมื่อคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เห็นชอบแนวทางพิจารณาเตรียมความพร้อมให้โรค COVID-19เป็นโรคประจำถิ่น เพราะหลายคนเกรงว่าจะต้องเสียสิทธิ์รักษาฟรี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
395
มีนาคม 2555
คนไทยบริโภคน้ำมันพืชปีละกว่า ๘ แสนตัน และมีผู้บริโภคส่วนหนึ่งใช้น้ำมันที่ผ่านการทอดอาหารซ้ำเป็นเวลานาน นอกจากทำให้คุณค่าทางโภชนาการลดลงแล้วยังมีอันตรายต่อสุขภาพ มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือด และโรคความดันโลหิตสูง มีความเสี่ยงต่อการได้รับสารก่อมะเร็ง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นโรคที่มีอัตราป่วยและอัตราตายในระดับสูง ส่วนน้ำมันที่เราใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน มีด้วยกัน ๒ ชนิด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
378
ตุลาคม 2553
ความสำเร็จของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในยุคแรกปี พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๕๐ ทำให้คนไทยกว่า ๔๘ ล้านคนได้รับการคุ้มครองจากสิทธิหลักประกันสุขภาพ (บัตรทอง) ได้เข้าถึงการบริการผู้ป่วยนอก ๓๙.๑ ล้านคน ผู้ป่วยใน ๕.๓ ล้านคน นอกจากนี้ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
376
สิงหาคม 2553
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และภาคีเครือข่าย R2R เปิดตัว ๓๙ งานวิจัยเด่น ในงานประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ ๓" ระหว่างวันที่ ๑๔-๑๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ พิธีเปิดวันที่ ๑๔ กรกฎาคม โดย ดร.พรรณสิริ กุลนาถศิริ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และวันที่ ๑๖ กรกฎาคม มอบรางวัลโดย ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
372
เมษายน 2553
กรณีที่กลุ่มแพทย์โรงพยาบาลตามชายแดนของประเทศไทย เข้าพบรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 เพื่อยื่นข้อเสนอขยายสิทธิหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไร้สถานะ (กะเหรี่ยง พม่า มอญ) เพราะโรงพยาบาลตามชายแดน 15 จังหวัดต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายจำนวนมาก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
364
สิงหาคม 2552
"สปสช.พร้อมทำงานอย่างเต็มที่ เพื่อให้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีความ ยั่งยืนเกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนด้วยบริการใกล้บ้านใกล้ใจ พร้อมด้วยคุณภาพมาตรฐาน ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง เป็นธรรมและผู้ให้บริการมีความสุข ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
328
สิงหาคม 2549
ปลอดภัยง่าย...สไตล์สิงห์นักบิด"หนังหุ้มเหล็ก" คำเปรียบเปรยถึงการเดินทางสัญจรด้วยรถจักรยานยนต์ ที่สามารถเข้าใจได้ทันทีถึงความเสี่ยงต่ออันตรายในการขับขี่จากข้อมูลอุบัติเหตุทางการจราจรในแต่ละปีพบว่า มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรเฉลี่ยปีละ ๑๓,๐๐๐ ราย มากกว่า ๘,๐๐๐ ราย เป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากรถจักรยานยนต์ โดยผู้เสียชีวิตจะอยู่ในช่วง ๑๕-๔๕ ปี ...