Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เรื่องน่ารู้

เรื่องน่ารู้

  • กรน... มลภาวะยามพักผ่อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 127 พฤศจิกายน 2532
    กรน... มลภาวะยามพักผ่อน“ครืดคราด...ฟี้” เชื่อว่าคุณคงรู้จักเสียงนี้กันทุกคน บ้างก็คุ้นเคยจนเห็นเป็นเรื่องปกติธรรมดา คืนไหนถ้าไม่ได้ยินอาจทำให้นอนไม่หลับไปเลย แต่ที่แน่ๆ หลายคนคงลงมติเป็นเอกฉันท์ว่า เสียงกรนเป็นมลภาวะสำหรับคนข้างเคียงเป็นอย่างยิ่งจริงๆ แล้วการกรนเป็นอาการอย่างหนึ่งเท่านั้น ในทางการแพทย์ไม่จัดเข้าข่ายว่าเป็นโรคใดๆ การกรนมักจะเป็นกัน 1 ใน 8 ของคนที่นอนหลับ ...
  • มาสอนลูกน้อยให้ว่ายน้ำ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 126 ตุลาคม 2532
    มาสอนลูกน้อยให้ว่ายน้ำหลายท่านคงอดนึกเอ็นดูไม่ได้กับโฆษณาชุดหนึ่งที่สื่อให้เห็นเด็กน้อยอายุประมาณ 6 เดือนกำลังแหวกว่ายอยู่ในสระน้ำอย่างร่าเริง หลายคนคงสงสัยว่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด แต่ภาพที่เห็นนี้ไม่เกินเลยจากความเป็นจริง จากการได้สัมภาษณ์นาวาเอกนายแพทย์สุริยา ณ นคร รองหัวหน้ากองเวชศาสตร์ใต้น้ำ กรมแพทย์ทหารเรือ ...
  • การผ่าตัดเปลี่ยนตับ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 124 สิงหาคม 2532
    การผ่าตัดเปลี่ยนตับตับเป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย เปรียบเสมือนโรงงานทางเคมีโรงใหญ่ รวมทั้งเป็นโกดังเก็บของและโกดังไฟฟ้า ตำแหน่งของตับอยู่ใต้ชายโครงข้างขวา ทอดยาวไปทางด้านซ้ายอยู่ใต้กะบังลม ตับมีความสามารถมาก ไม่เคยหยุดทำงานเลยตลอดชีวิตของคนเรา แม้ว่าตับจะอักเสบหรือเสียไปเป็นบางส่วน แต่ตับส่วนที่เหลือก็จะทำหน้าที่ทดแทนได้เพียงพอ แต่หากตับเสียไปมาก ...
  • การช่วยชีวิตผู้ป่วยจากหลอดลมอุดตัน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 123 กรกฎาคม 2532
    การช่วยชีวิตผู้ป่วยจากหลอดลมอุดตันกลางปี พ.ศ.2531 มีข่าวลงหนังสือพิมพ์หน้า 1 ว่า เด็กนักเรียนชั้นประถม ลูกชิ้นติดคอต่อหน้าบิดา และถึงแก่กรรมขณะนำส่งโรงพยาบาล... การหายใจมีความสำคัญมากต่อชีวิต หากทางเดินหายใจถูกอุดตันอย่างสมบูรณ์ อาจถึงแก่ความตายหรือสมองพิการอย่างถาวรภายใน 4 นาที สำหรับผู้ที่มีออกซิเจนในเลือดน้อยกว่าปกติ เช่น เป็นโรคปอด หรือโรคหัวใจเรื้อรัง ...
  • โปรตีนนั้นสำคัญไฉน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 114 ตุลาคม 2531
    เมื่อไม่นานมานี้ มีหนังสือพิมพ์รายวันฉบับหนึ่งตีพิมพ์เกี่ยวกับอาหารเสริมโปรตีนประเภทน้ำสกัดไก่ ว่า “ดูดซึมได้ดีมาก และมีผลต่อระบบประสาท” เลยทำให้ดูเหมือนว่า อาหารเสริมชนิดนี้ดีกว่าอาหารโปรตีนประเภทอื่นทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วไม่ได้ดีกว่ากันเท่าไรคำถามว่า “คุณรู้จักโปรตีนดีแค่ไหน” จึงน่าสนใจที่จะถามถึง เพราะมักจะมีผู้นำคำว่า “โปรตีน” ...
  • มารู้จักโคเลสเตอรอลกันเถอะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 113 กันยายน 2531
    ปัจจุบัน ปัญหาภาวะโภชนาการเกินมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคโคเลสเตอรอลสูงในเลือด เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับโคเลสเตอรอล เพราะประชาชนมักจะเข้าใจกันว่าคนอ้วนเท่านั้นที่มีโคเลสเตอรอลสูงกว่าคนผอม แต่จริง ๆ แล้วไม่ใช่อย่างที่เข้าใจกันคอลัมน์ “เรื่องน่ารู้” ฉบับนี้ หมอชาวบ้านได้สัมภาษณ์ศาสตราจารย์นายแพทย์วิชัย ตันไพจิตร ผู้อำนวยการศูนย์วิจัย ...
  • ผมร่วง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    “ผมร่วง” ถ้าไม่ประสบกับตัวเองก็คงจะไม่รู้หรอกว่า อาการผมร่วงก่อนให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลเพียงใด เพราะเชื่อกันว่าผมร่วงมาก ๆ จะทำให้เป็นโรคหัวล้าน ที่จริงแล้ว เรื่องผมร่วงกับหัวล้านนั้น ไม่ค่อยจะเกี่ยวข้องกันเท่าใด คนเป็นโรคผมร่วงส่วนใหญ่ไม่ทำให้หัวล้าน และบางคนที่คิดว่าตนเองกำลังเป็นโรค ...
  • ศีรษะล้าน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 112 สิงหาคม 2531
    เส้นผมและทรงผมมีอิทธิพลต่อความสวยความงามของมนุษย์อย่างมากทีเดียว ใครที่ไม่มีปัญหาในเรื่องนี้ก็จะไม่ซาบซึ้งถึงความสำคัญนักผมคนเราในแต่ละช่วงเวลาจะมีอยู่ประมาณหนึ่งแสนเส้น ...
  • ความเตี้ย-ความสูง เกิดขึ้นได้อย่างไร

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 110 มิถุนายน 2531
    มนุษย์ทุกคนที่เกิดมานั้น ต้องการความพอดี ไม่ว่าจะเป็นรูปลักษณะภายนอก หรืออวัยวะภายในก็ตาม จะต้องได้สัดส่วนที่เหมาะสม ใคร ๆ ก็ตามต้องการคามงดงามเหล่านี้ ถ้าใครมีสิ่งใดเกินพอดี หรือขาดไปก็จะเป็นสาเหตุของความทุกข์ที่แก้ไขไม่ได้ในบางครั้งบางคราวเรื่องของความเตี้ย-ความสูงก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เจ้าของสัดส่วนนั้น ๆ เกิดความทุกข์หรือวิตกกังวลได้ไม่มากก็น้อยเหมือนกัน คอลัมน์ ...
  • ฝังเลนส์เทียม

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 107 มีนาคม 2531
    เลนส์เทียมคืออะไร?เลนส์เทียมคือ วัตถุชิ้นเล็กๆที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 มิลลิเมตร กลมๆ แบนๆ คล้ายหน้าปัดนาฬิกาขนาดเล็กๆ ใสโปร่งแสง ปราศจากสีสัน เพื่อใช้แทนเลนส์ในตาของคนเราที่ถูกผ่าตัดเอาออกเนื่องจากเป็นต้อกระจก เพราะมีภาวะขาวขุ่นทำให้ผู้นั้นมองอะไรไม่ชัด หรือไม่เห็นเลนส์เทียมที่ว่านี้มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับเลนส์ธรรมชาติของคนเราที่ผ่าตัดเอาออกมา ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • 16
  • 17
  • 18
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • โรคกระดูก
  • โรคตา
  • โรคน่ารู้
  • โรคปวดข้อ ปัญหาระดับชาติที่แอบแฝง
  • โรคผิวหนัง
  • โลก(ของ)สุขภาพ
  • โลกกว้างและการแพทย์
  • โลกของเรา
  • โลกสีเขียว
  • ใจเขาใจเรา
  • ในทุกข์ยังมีสุข
  • ไขข่าววิ่ง
  • ‹‹
  • 14 จาก 14
  •  

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)< และสถาบัน ChangeFusion< พัฒนาระบบโดย Opendream< สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa <