-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
267
กรกฎาคม 2544
หลังส่วนล่าง หลังส่วนล่าง หมายถึง บริเวณกระดูกสันหลังส่วนล่าง กับบริเวณกระดูกก้นกบ ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้เป็นส่วนที่เคลื่อนไหวได้ดีที่สุด เส้นประสาทที่อยู่บริเวณนี้จะเกี่ยวเนื่องไปยังขาทั้ง 2 ข้าง หากเส้นประสาทเหล่านี้ถูกกดทับ ขาทั้ง 2 ก็จะทำงานไม่เป็นปกติอาการปวดหลัง อาการปวดหลังเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ-กระดูก-ข้อ ระบบปัสสาวะ ระบบ สูตินรี ช่องท้อง และจิตใจ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
266
มิถุนายน 2544
กระดูกคออักเสบ หรือกระดูกคอเสื่อม (ต่อ) ในขณะที่วิทยาการสมัยใหม่ ช่วยหาวิธีที่จะบำบัดรักษาโรคกระดูกคออักเสบหรือเสื่อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในทำนองเดียวกัน การศึกษาเพื่อหาแนวทางในการ “ป้องกัน” ก็เพิ่มขึ้นด้วย โยคะเป็นศาสตร์หนึ่งที่ช่วยในเรื่องการ “ป้องกัน” ได้เป็นอย่างดีและกุญแจที่สำคัญในการป้องกันของโยคะก็คือ “สติรู้ในอิริยาบถ” นั่นเอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
265
พฤษภาคม 2544
กระดูกคออักเสบ หรือกระดูกคอเสื่อมกระดูกคออักเสบหรือเสื่อมสามารถเกิดขึ้นกับใครก็ได้ ที่อายุระหว่าง35 ถึง70 ปี กระดูกคอและข้อต่อ บริเวณรอบๆของคนเราเสื่อมไปตามธรรมชาติ จะเร็วหรือช้าเท่านั้นเอง แต่ที่น่าสนใจก็คือ ไม่จำเป็นว่าทุกคนจะต้อง “ปวด” คอ บางคนที่ปวดคอ อาจเป็นอาการปวดรวมๆของกระดูกคอ กล้ามเนื้อ และอิริยาบถ (ที่ผิดท่า) ข้อพึงระลึกก็คือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
252
เมษายน 2543
หัวใจของ(ผู้ฝึกทำ)โยคะ (๓)การศึกษาเป็นจำนวนมาก ทั้งทางด้านกายภาพและด้านจิตวิทยา สามารถบ่งบอกถึงบุคลิกของคนที่มีแนวโน้มจะเป็นโรคหัวใจ หมอวิลเลี่ยม ออสเลอร์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคหัวใจกล่าวว่า คนโผงผาง ใจร้อน หรือที่เรียกกันว่าคนประเภท A มักเป็นโรคหัวใจได้ง่ายกว่าคนประเภท B ซึ่งมักเป็นคนสงบเสงี่ยม นุ่มนวล บุคลิกคนประเภท A ก้าวร้าว เจ้ากี้เจ้าการ ชอบแข่งขัน ไม่อดทน ฯลฯ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
251
มีนาคม 2543
หัวใจของ(ผู้ฝึกทำ)โยคะ (๒)กระแสการพัฒนาแบบอุตสาหกรรม บวกกับเทคโนโลยีที่โตเอาๆ ทำให้สังคมเต็มไปด้วยวัตถุต่างๆ มากมาย วัตถุเหล่านี้ได้สร้างวิถีชีวิตแบบใหม่ที่กำลังรุมทึ้งผู้คนในสังคม นิสัย ๒ อย่างที่กระแสแห่งการพัฒนาได้ทิ้งไว้ให้กับผู้คน คือ ความเร่งรีบ และความโลภ (เพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งวัตถุทั้งหลาย) ยิ่งกระแสของวัตถุท่วมโถมเข้ามาอย่างรวดเร็วมากเพียงใด มนุษย์ก็เหลือเวลาน้อยลงเพียงนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
250
กุมภาพันธ์ 2543
หัวใจของ(ผู้ฝึกทำ)โยคะแพทย์ตะวันตกมองหัวใจว่าเป็นเพียงอวัยวะชิ้นหนึ่งที่ทำหน้าที่ปั๊มเลือดไปหล่อเลี้ยงทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามโยคีโบราณไม่ได้มองเช่นนั้น พวกเขาเห็นว่าหัวใจคือที่ตั้งของจิตสำนึก คือ ที่ตั้งของนามธรรมที่เรียกกันว่า "ใจ" และเชื่อว่าความเข้าใจต่อหัวใจมากขึ้น จะทำให้เราเข้าใจ "ใจ" ของมนุษย์มากขึ้น ทุกวันนี้หลายๆคนได้ศึกษาและเริ่มยอมรับว่า "ใจ" ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
249
มกราคม 2543
โยคะไม่ใช่...หากแต่คือ...เราได้นำเสนอเรื่องราวของโยคะมาเกือบจะครบปีแล้ว มาถึงตอนนี้ ผู้อ่านทุกคนคงรู้จักโยคะ บางคนอาจได้มีโอกาสฝึกทำเทคนิคต่างๆของโยคะบ้างแล้วด้วย อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายคนที่เห็นโยคะเป็นเรื่องการทำท่าอาสนะเท่านั้น และให้ความสำคัญต่อการทำท่าอาสนะเพียงอย่างเดียว ในการเริ่มต้นของศักราชใหม่ เรามาลองพิจารณาดูว่า โยคะไม่ใช่อะไร หากแต่โยคะ คือ...โยคะไม่ใช่เพียงแค่การยืด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
248
ธันวาคม 2542
โยคะเพื่อจัดการความเครียดเกินเทคนิคการผ่อนคลายอย่างลึกโยคะเพื่อจัดการความเครียดเกิน เป็นการทำเทคนิคโยคะหลายๆแบบต่อเนื่องกัน ผู้ทำจะได้รับการผ่อนคลายทั้งทางร่างกายและจิตใจ ส่งผลให้ความเครียดที่สะสมอยู่พลอยได้รับการผ่อนคลายไปด้วย เราเริ่มจากการผ่อนคลายแบบทันที(ในหมอชาวบ้าน ฉบับที่ ๒๔๑) อาสนะในท่ายืน ๔ ท่า (ฉบับ ๒๔๒-๒๔๓) เทคนิคการผ่อนคลายอย่างเร็ว (ฉบับ ๒๔๔) อาสนะในท่านั่ง ๓ ท่า (ฉบับ ๒๔๕-๒๔๗) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
247
พฤศจิกายน 2542
โยคะเพื่อจัดการความเครียดเกินท่าอูฐวิธีฝึกท่าอูฐครึ่งตัวจากท่านั่งขัดสมาธิเพชร ค่อยๆลุกขึ้นคุกเข่า แยกเข่าและเท้าออกจากกัน ระยะห่างเท่ากับความกว้างของไหล่ ใช้มือทั้ง ๒ รองรับ ไว้ที่เอว บีบศอกเข้าหากัน จากนั้นแอ่นช่องท้องมาด้านหน้า พร้อมกับเอนทรวงอกและศีรษะไปด้านหลัง เรายังคงเก็บคางไว้กับทรวงอก (ไม่เปิดคาง) เพื่อกันไม่ให้กระดูกคอต้องรับน้ำหนัก (ของศีรษะ) มากเกินไป ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
246
ตุลาคม 2542
โยคะเพื่อจัดการความเครียดเกินท่าพระจันทร์"ท่าพระจันทร์" บ้างก็เรียกว่า "ท่าเด็ก" บ้างก็เรียก "ท่ากระต่าย" เป็นท่าง่ายๆที่ทำแล้วจะรู้สึกสบาย รู้สึกได้ถึงการผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจวิธีทำ เราเริ่มจากการนั่งในท่าเพชร (ฉบับ ๒๔๕ กันยายน ๒๕๔๒) รวบแขนไปข้างหลัง ใช้มือซ้ายกำข้อมือขวาหรือมือขวากำข้อมือซ้าย (ตามถนัด) ค่อยๆโน้มตัวไปข้างหน้าจนหน้าผากแตะพื้น ...