-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
273
มกราคม 2545
การปนเปื้อนของ : ข้าวโพดจีเอ็มโอเมื่อเดือนตุลาคมศกนี้ นักวิทยาศาสตร์ชาวเม็กชิกันเปิดเผยว่าพบจีเอ็มโอปนเปื้อนข้าวโพดพันธุ์พื้นเมืองในพื้นที่ทุรกันดารของเม็กชิโก นับเป็นครั้งแรกที่มีการพบดีเอ็นเอที่ผ่านการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในพืชที่เกิดตามป่า ปัญหาที่เกิดขึ้นถือว่ารุนแรงมาก เพราะพื้นที่ดังกล่าวเป็นแหล่งที่มีความหลากหลายของข้าวโพดพันธุ์พื้นเมือง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
273
มกราคม 2545
-กินขมิ้นชัน อาจช่วยลดอาการความจำเสื่อมขมิ้นนอกจากจะมีประโยชน์ช่วยระบบการย่อยอาหารให้ดีขึ้น รักษาโรคกระเพาะ ป้องกันการติดเชื้อ และต้านโรคหัวใจได้ ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียลอสแอนเจลิส ค้นพบว่าขมิ้นยังมีบทบาทสำคัญในการชะลอกระบวนการที่ทำให้ระบบประสาทเสื่อม โดยลดการขมวดปมของเส้นประสาทในสมอง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
272
ธันวาคม 2544
เหตุผลสำคัญที่ไม่ควรบริโภคอาหารเสริม- ไม่จำเป็น สำหรับผู้ที่อยู่ในภาวะปกติ ไม่ได้เป็นโรคขาดสารอาหาร (เช่น ในเด็กทารกหรือผู้สูงอายุบางคน) การบริโภคอาหารหลักให้ครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม รู้จักผ่อนคลายทางด้านอารมณ์ ก็สามารถสร้างเสริมสุขภาพให้มีสุขภาพที่ดีได้ โดยไม่จำเป็นต้องกินอาหารเสริม- ราคาแพงและโฆษณาเกินจริง ประโยชน์มีน้อยมากเมื่อเทียบกับราคา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
271
พฤศจิกายน 2544
พืชที่ปลูกจีเอ็มโอ : แนวโน้มไม่เพิ่มขึ้นนับตั้งแต่มะเขือเทศดัดแปลงพันธุกรรม และถั่วเหลืองต้านทานยาปราบวัชพืช ( Round up Ready ) ถูกอนุมัติให้ปลูกในสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ.2529 จนถึงขณะนี้พื้นที่ปลูกพืชจีเอ็มโอได้ขยายออกไปหลายล้านเฮกดาร์ มีการคาดการณ์ว่าพื้นที่ปลูกพืชจีเอ็มโอจะแผ่ขยายออกไปทั่วโลกภายในไม่ถึงสิบปี เนื่องจากการขยายตัวของพื้นที่ปลูกเป็นไปอย่างรวดเร็วมาก ๆ อย่างไรก็ตาม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
270
ตุลาคม 2544
กระแสการปฏิเสธอาหารจีเอ็มโอการสำรวจของนักวิจัยอิสระ และสื่อมวลชนหลายแห่งพบว่า กระแสต่อต้านอาหารจีเอ็มโอยังคงอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศแถบยุโรป และประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น และผลการสำรวจในช่วงหลังพบว่า กระแสการปฏิเสธอาหารจีเอ็มโอได้ครอบคลุมไปถึงประเทศกำลังพัฒนา และแม้กระทั่งในกลุ่มประเทศผู้ผลิตอาหารจีเอ็มโอในสหรัฐอเมริกาและแคนาดาด้วยผลการศึกษาของบริษัทวิจัย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
270
ตุลาคม 2544
- ขนมขบเคี้ยว ขนมกินเล่น อาจอันตรายจากการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างขนมขบเคี้ยวกับปัญหาสายตาของโรงพยาบาลรักษาหูและตาแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา พบว่า ขนมขบเคี้ยว อย่างเช่น ช็อกโกแลต พาย คุกกี้ มันฝรั่ง แผ่นทอดกรอบ เฟรนซ์ฟรายด์ ฯลฯ ที่มีไขมันจากน้ำมันพืชซึ่งมีกรดไลโนเลอิก และมีส่วนประกอบของไขมันทั้งชนิดโมเลกุลเดี่ยวและหลายโมเลกุล เป็นสาเหตุของการเสื่อมประสิทธิภาพของกล้ามเนื้อสายตาเมื่อมีอายุมากขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
269
กันยายน 2544
สินค้าปนเปื้อนจีเอ็มโอ แม้ว่านโยบายของประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้มีการเพาะปลูกพืช จีเอ็มโอในเชิงพาณิชย์ แต่อาจเกิดปัญหาการปนเปื้อนจากข้อยกเว้นที่ให้มีการนำเข้าข้าวโพดและถั่วเหลืองจีเอ็มโอที่จะนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต อาหารสัตว์ หรืออาหารมนุษย์ หรือใช้เพื่อการอุตสาหกรรม ช่องทางที่ผลผลิตจีเอ็มโอจะปนเปื้อน ก็โดยการผสมปนกับถั่วเหลือง หรือข้าวโพดภายในประเทศซึ่งไม่เป็นจีเอ็มโอ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
269
กันยายน 2544
ถอดปลั๊กทุกครั้งเมื่อไม่ดูโทรทัศน์ เดี๋ยวนี้คงหาบ้านที่ยังดูโทรทัศน์ขาว-ดำไม่ค่อยได้แล้ว หรือแม้แต่โทรทัศน์สีระบบทั่วไป ที่ต้องเดินไปกดปุ่มเปลี่ยนช่องเอง ก็ยังไม่ค่อยเป็นที่นิยม ส่วนใหญ่จะยอมจ่ายแพงอีกนิด ให้มีระบบรีโมทคอนโทรล เพียงกระดิกปลายนิ้วก็เปลี่ยนช่องได้เป็นว่าเล่น อำนวยความสะดวกได้เป็นอย่างดี แต่สิ่งที่ตามมาอย่างที่บางคนอาจไม่ทันได้คิดถึง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
269
กันยายน 2544
-ยาปฏิชีวนะในสัตว์ สู่โรคดื้อยาในคนข้อมูลจาก ศูนย์ติดตามการดื้อยา คณะสัตวแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากระบบการเลี้ยงสัตว์ในฟาร์มขนาดใหญ่ของไทย รวมทั้งประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มีการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันโรคอย่างไม่เหมาะสมและในปริมาณมาก รวมถึงสารเร่งการเจริญเติบโตให้เร็วขึ้น เพื่อให้ทันกับความต้องการของตลาด ซึ่งก่อให้เกิดเชื้อโรคดื้อยาในสัตว์ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
268
สิงหาคม 2544
ประเทศเพื่อนบ้านกับมาตรการจีเอ็มโอ อินเดียภายใต้กฎหมายอินเดียถือเป็นการผิดกฎหมายหากนำเข้าหรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารจีเอ็มโอ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการพันธุวิศวกรรม (จีอีเอซี) สังกัดกระทรวงสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ จนกระทั่งปัจจุบันยังไม่มีการอนุญาตให้นำเข้าพืชหรืออาหารจีเอ็มโอชนิดใดๆอินโดนีเซียภายใต้พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2539 อาหารทุกประเภทที่ตรวจพบว่าปนเปื้อนจีเอ็มโอต้องติดฉลาก ...