โรคระบบประสาทและสมอง (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    Parkinsonism-plus syndromesParkinsonism-plus syndromes หรือ Atypical parkinsonian syndromes หรือที่เรียกกันว่า โรคพาร์กินสันเทียม หมายถึงกลุ่มโรคที่มีอาการพาร์กินโซนิซึม คล้ายโรคพาร์กินสัน หากแต่ว่าการดำเนินโรค หรือลักษณะทางพยาธิวิทยาต่างจากโรคพาร์กินสัน คำว่า "-plus" นั้นมีความสำคัญ ซึ่งบ่งถึงอาการเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากอาการพาร์กินโซนิซึม ซึ่งมักจะเป็นสิ่งที่แพทย์ควรสังเกต ตรวจหา ...
  • วารสารคลินิก 268 เมษายน 2550
    ภาพที่ 1. พาร์กินโซนิซึมมีได้หลายสาเหตุ โดยที่โรคพาร์กินสัน เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด มากถึงร้อยละ 70.พาร์กินโซนิซึม (parkinsonism) เป็นกลุ่มอาการ (syndromes) ไม่ใช่โรค (ต่างจากโรคพาร์กินสันที่จะกล่าวโดยละเอียดในภายหลัง) ที่รวมถึงลักษณะอาการสั่นที่มือหรือขาขณะอยู่เฉย (rest tremor) อาการเคลื่อนไหวช้า (bradykinesia) อาการแข็งเกร็ง (rigidity) และปัญหาในเรื่องของการทรงตัว (postural instability) ...
  • วารสารคลินิก 260 สิงหาคม 2549
    การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม : การซักประวัติหลักที่สำคัญในการวินิจฉัยสมองเสื่อม คือการซักประวัติและการตรวจร่างกาย แพทย์ที่ดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อมทุกท่านต้องตระหนักเรื่องกฎเกณฑ์ขั้นพื้นฐานในการวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย. จริงๆแล้วกฎนี้ใช้ได้กับโรคทุกโรคไม่ใช่เฉพาะโรคสมองเสื่อมเท่านั้น. ต่อไปนี้เป็นกฎเกณฑ์หลักขั้นพื้นฐานที่ต้องทำความเข้าใจและเรียนรู้ เพื่อให้การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมทำให้ง่าย ถูกต้อง ...
  • วารสารคลินิก 258 มิถุนายน 2549
    คำนำโรคสมองเสื่อม โดยเฉพาะโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่รู้จักดีจนเอามาพูดหยอกล้อกันเล่น ถ้าคนไหนความจำไม่ดี หลงลืมบ่อยๆ จะกระซิบกับพรรคพวกว่า " สงสัยเป็นอัลไซเมอร์ " แต่ถ้าย้อนถามกลับว่าโรคอัลไซเมอร์ตัวจริงเป็นอย่างไรจะไม่สามารถให้คำตอบที่ชัดเจนได้.โรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่รู้จักกันดี เพราะในอดีตโรคนี้ไปเกี่ยวข้องพาดพิงกับนักการเมืองที่สำคัญของประเทศไทย ...