ตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
183
กรกฎาคม 2537
การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนที่ 1) ช่วงนี้มีปัญหาสุขภาพเข้ามามาก ปัญหาสุขภาพที่ถามมาทางจดหมายเป็นปัญหาที่ตอบยากแล้วอาจจะผิด ทำให้เป็นอันตรายได้เพราะประวัติหรือข้อมูลที่ให้มาทางจดหมายนั้น เป็นข้อมูลที่ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยคิดหรือเข้าใจเอาเอง ไม่มีการซักถามหรือสอบถามโดยคนตอบปัญหา เพื่อให้เข้าใจตรงกันกับผู้ป่วยหรือเพื่อให้ข้อมูลชัดเจนขึ้น นอกจากนั้น ยังไม่มีการตรวจร่างกายและการตรวจอื่นๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง 240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
90
ตุลาคม 2529
โรคภูมิแพ้ทางผิวหนังหลังจากที่คุณได้รู้จักกับ “โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ” ในฉบับก่อนไปแล้วนั้น คงจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ กระจ่างมากขึ้นกว่าเดิมนะคะและสำหรับคอลัมน์โรคน่ารู้ฉบับนี้ เราจะพูดถึง “โรคภูมิแพ้ทางผิวหนัง” ต่อเนื่องกันไปให้ครบถ้วนสุภาพสตรีคนหนึ่งลองซื้อเครื่องสำอางยี่ห้อใหม่มาใช้ ได้ฟังโฆษณากรอกหูอยู่ทุกวันว่า ใช้แล้วจะทำให้หน้าตาผิวพรรณผุดผ่อง มองดูอ่อนกว่าวัย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
32
พฤศจิกายน 2524
คุณทราบไหมว่า…ผมหรือขนของเรานั้น เริ่มเจริญเติบโตตั้งแต่เราอยู่ในท้องของแม่เมื่ออายุได้ 3 เดือน…มันเกิดขึ้นจากหนังกำพร้า* (หมายเลข 1) มีการแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนและแทรกยื่นลงไปในหนังกำแท้** (หมายเลข 2 และ 3 ) เซลล์ที่ยื่นลงไปจะเกาะกลุ่มกันยื่นลงไปเรื่อยๆ จนกลายเป็นปุ่ม (หมายเลข 4) และจะขยายเป็นหัวหรือตุ่มที่เราเรียกว่า รากขนหรือรากจน (หมายเลข 5) เซลล์ชั้นในๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
24
เมษายน 2524
ไซนัสอักเสบ โรคดังติดอันดับของไทย โรคน่ารู้ฉบับนี้ เราจะว่ากันด้วยเรื่อง โรคไซนัสอักเสบ⇒ ทำไมเรียกว่าไซนัส ไซนัสเป็นภาษาอังกฤษ เขียนโก้ ๆ ว่า Paranasal Sinus แปลว่า โพรงอากาศรอบ ๆ จมูก แต่ละโพรงมีท่อออกมาที่รูจมูกด้วย (ดูภาพที่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
23
มีนาคม 2524
กามโรค (ตอนที่ 2 )แผลและเลือดบวก คุณผู้อ่านครับ ในฉบับที่แล้วคุณหมอนิวัติได้เล่าให้ฟังถึงเรื่องราวของหนองใน และหนองในเทียม ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้อ่านอย่างมากมาย สำหรับในฉบับนี้ เราก็จะได้ฟังคุณหมอนิวัติเล่าเรื่องแผลและเลือดบวก ซึ่งมีแง่มุมต่างๆ ที่น่าคิด น่าสนใจมากมายทีเดียว หลายคนคงเคยได้ยินคำว่า เข้าข้อ, ออกดอก, เลือดบวก หรือ ว่า “ไอ้ฮวบ” จริง ๆ นั้นมันเป็นอย่างไร ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
16
สิงหาคม 2523
รำมะนาด1.ครูวิชัยเป็นครูอยู่ที่โรงเรียนวัดกรวตในอำเภอ มาหลายปีแล้ว ครูวิชัยทำงานด้วยความราบรื่นมาตลอด จนเมื่อปีที่แล้วนี่เอง ครูวิชัยเริ่มมีปัญหาเกี่ยวกับบุคลิกภาพ เพราะนักเรียนหรือแม้แต่เพื่อนครูด้วยกันมักล้อ “ฟันครูยาวเหมือนฟันม้า2 .ครูเองก็กลุ้มใจ ทั้งจากที่ถูกนักเรียน และเพื่อน ๆ ล้อแล้ว ฟันของครูก็ยังโยกคลอนไปทั้งปาก วันดี คืนดีก็บวมตุ่ย เกิดมีหนอง แล้วก็ปวด แสนจะทรมาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
16
สิงหาคม 2523
หัดเยอรมัน ในบรรดาโรคภัยไข้เจ็บทั้งหลาย โรคที่ทำให้ผู้ใกล้ชิดหรือผู้สัมผัสโรคมีอาการ “ประสาทผวา” ได้มากที่สุด ก็เห็นจะได้แก่ โรคพิษสุนัขบ้า กับโรคหัดเยอรมันในโรคพิษสุนัขบ้า ถ้าผู้สัมผัสโรคได้รับเชื้อ เกิดป่วยมีอาการขึ้นมา ก็หมายถึงชีวิตกำลังจะสิ้นสุดลงอย่างน่าอนาถใจ โดยหาหมอเทวดาที่ไหนมาช่วยก็ไม่ได้ส่วนโรคหัดเยอรมัน ...