-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
106
กุมภาพันธ์ 2531
ในฉบับก่อนๆ ได้กล่าวถึงอาการปวดข้อตามส่วนต่างๆของร่างกาย ฉบับนี้จะกล่าวถึงการตรวจวินิจฉัยปัญหาปวดข้อให้แน่นอน ที่สำคัญคือประวัติ การซักประวัติให้ดี มักจะช่วยในการวินิจฉัยได้มากเมื่อคนไข้เมื่อคนไข้มาหาเรื่องปวดข้อ สิ่งแรกที่จะต้องทำคือการซักประวัติและต้องแยกให้ได้ คืออาการปวดข้อนั้นเป็นอาการปวดในข้อ (articular rheumatism) หรือเป็นอาการนอกข้อ (nonarticular rheumatism) ซึ่งเป็นอาการปวดของเอ็น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
105
มกราคม 2531
นอกจากอาการข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ และข้อนิ้วมือที่ได้กล่าวถึงในฉบับก่อนๆแล้ว อาการปวดข้อที่พบบ่อยคล้ายๆกันคือ อาการปวดข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า และข้อนิ้วเท้า ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป5. ปวดข้อสะโพก : อาการปวดข้อสะโพกที่ไม่ฉุกเฉิน คืออาการปวดเมื่อยในข้อสะโพก เดินแล้วเจ็บในบริเวณสะโพก ทำให้เดินไม่ถนัดหรือเดินกะเผลก (ถ้าเจ็บมากจนเดินไม่ได้หรือขยับขาไม่ได้ หรือเกิดหลังหกล้มโดยเฉพาะในคนชรา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
104
ธันวาคม 2530
นอกจากอาการปวดไหล่ อาการปวดข้อที่ไม่ฉุกเฉินในบริเวณแขนที่พบบ่อย คือ2. ปวดข้อศอก : อาการปวดข้อศอกไม่ฉุกเฉิน คืออาการปวดข้อศอกที่ไม่มีอาการปวด บวม แดง ร้อนที่ข้อศอก หรือมีกระดูกหักบริเวณนั้น ผู้ป่วยกลุ่มที่ปวดข้อฉุกเฉินควรไปโรงพยาบาลส่วนอาการปวดข้อศอกแบบไม่ฉุกเฉิน ที่พบบ่อยที่สุด คือการอักเสบของเอ็นที่ยึดติดกับปุ่มกระดูกข้อศอกด้านนอก (ดูรูป) ที่เรียกกันว่า ข้อศอกนักเทนนิส (Tennis elbow) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
103
พฤศจิกายน 2530
ดังได้กล่าวไว้ในฉบับที่แล้วว่าอาการปวดข้อไหล่ส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการอักเสบที่ข้อโดยตรง ที่พบบ่อยนั้น มักเกิดจากการอักเสบที่ส่วนต่างๆดังต่อไปนี้คือ1.1 เอ็นอักเสบ (tendinitis) และเบาน้ำอักเสบ (bursitis) ซึ่งถ้าเป็นมากและเป็นอยู่นานๆจะเกิดหินปูนเกาะในบริเวณที่อักเสบ ซึ่งจะทำให้เห็นได้ในภาพรังสี หรือเอกซเรย์ของข้อไหล่โรคกลุ่มนี้มักจะเป็นในชายและหญิงวัยกลางคน พบบ่อยที่สุดระหว่างอายุ 40-45 ปี ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
102
ตุลาคม 2530
อาการปวดข้อที่ฉุกเฉินคือ อาการปวดข้อที่มีอาการเจ็บหนักร่วมด้วยหรือมีอุบัติเหตุที่ทำให้ข้อนั้นใช้ไม่ได้ทันที ทั้งในด้านเคลื่อนไหวและการรับน้ำหนัก หรือมีอาการปวดบวมแดงร้อนที่ข้อนั้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
101
กันยายน 2530
อาการปวดข้อเป็นอาการที่พบบ่อย อันที่จริงอาการปวดหลัง และอาการปวดคอที่กล่าวถึงในฉบับก่อนๆก็อาจจะถือเป็นอาการปวดข้อได้ คือเป็นอาการปวดที่เกิดจากความผิดปกติทางกายภาพหรือทางการเคลื่อนไหวของข้อที่อยู่ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละอันนั่นเองอาการปวดข้อในที่นี้ จึงจะกล่าวถึงข้ออื่นๆที่ไม่ใช่ข้อของกระดูกสันหลัง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
100
สิงหาคม 2530
นอกจากอาการปวดหลังจะเกิดจากความผิดปกติที่แนวสันหลังและกล้ามเนื้อข้างสันหลังแล้วยังอาจเกิดจากอวัยวะภายในได้ อาการปวดหลังจากอวัยวะภายใน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
99
กรกฎาคม 2530
สำหรับคนไข้ที่ปวดหลังแต่ไม่ฉุกเฉิน คือ ไม่ได้รับอุบัติเหตุ ไม่ได้ถูกทำร้ายที่หลัง ไม่มีไข้ และไม่มีอาการฉุกเฉินอื่น (ดูมาเป็นหมอกันเถิด ในหมอชาวบ้านฉบับที่ 98) ให้ซักประวัติและตรวจร่างกาย เพื่อดูว่าอาการปวดหลังเกิดที่ใดอาการปวดหลังอาจเกิดที่1. กระดูกไขสันหลังและระบบประสาท2. กล้ามเนื้อ3. อื่นๆอาการปวดหลังที่เกิดจากกระดูกไขสันหลังและระบบประสาท : ส่วนใหญ่เกิดจากการเสื่อมของกระดูกเมื่ออายุสูงขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
98
มิถุนายน 2530
อาการปวดหลัง หมายถึง อาการปวด อาการเมื่อย อาการเจ็บหรืออื่นๆ ในบริเวณแนวกลางหลังตั้งแต่ส่วนอกลงไปถึงส่วนเอวและก้นกบโดยทั่วไปมักจะหมายถึง อาการปวดในบริเวณกระเบนเหน็บและบริเวณเอว เพราะอาการปวดหลังในบริเวณนี้เกิดบ่อยกว่าในบริเวณอื่นๆอาการปวดหลังบริเวณเอวและกระเบนเหน็บ เป็นอาการที่พบบ่อย และประชาชนทั่วไป มักจะคิดว่า เป็นโรคไต “โรคกระษัย” เพราะพวก “หมอเถื่อน” ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
97
พฤษภาคม 2530
5. ประเภทที่เกี่ยวข้องกับการออกกำลัง : หมายถึง อาการปวดท้องที่เกิดขึ้นเนื่องจากการออกกำลังกาย เช่น การบริหารหน้าท้อง การขุดดิน การก้มๆเงยๆ (ซึ่งมักจะทำให้ปวดหลังด้วย) การหัวเราะมากๆ (จนท้องคัดท้องแข็ง) การไอหรือจามรุนแรง (ซึ่งมักจะทำให้เจ็บชายโครงและหน้าอกด้วย) การอาเจียนรุนแรง เป็นต้นอาการปวดท้องที่เกิดขึ้นในกรณีเหล่านี้อาจเกิดจาก5.1 การปวดที่กล้ามเนื้อหน้าท้องและข้างท้อง (สีข้าง) ...