Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » เข้าครัว

เข้าครัว

  • อาหารจากมะละกอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 179 มีนาคม 2537
    อาหารจากมะละกอมะละกอ มะละกอ มะละกอ ในครัวของหมอชาวบ้านเดือนนี้เต็มไปด้วยมะละกอทั้งดิบและสุก ตอนแรกเราคุยกันว่าจะทำอาหารจากมะละกอหลายประเภท เพื่อขานรับการแนะนำมะละกอในคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าของคุณเดชา อาหารที่หลายๆ คนช่วยกันนึก (ด้วยความอยากกิน) คือส้มตำแกงส้มมะละกอแกงเหลืองมะละกอแกงป่ามะละกอแต่สุดท้ายทุกคนก็เห็นร่วมกันว่า อาหารเหล่านี้ชาวหมอชาวบ้านคงกินกันจนเบื่อแล้ว ...
  • ยำยอดกระถิน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 178 กุมภาพันธ์ 2537
    ยำยอดกระถินเมื่อเอ่ยถึงยอดกระถิน ดิฉันคิดว่าร้อยทั้งร้อยจะนึกถึงน้ำพริก แต่หากดิฉันบอกว่า ยำยอดกระถิน อร่อยอย่าบอกใคร ดิฉันคิดว่า น้อยคนนักจะรู้จักและอาจนึกหน้าค่าตาไม่ออก ตอนที่ดิฉันได้ยินเพื่อนพูดถึงยำยอด- กระถินครั้งแรก แถมบอกว่าเป็นอาหารชาววัง และเป็นอาหารไทยแท้แต่โบราณด้วย ดิฉันก็นึกไม่ออกเหมือนกันว่ารูปร่างหน้าตาจะเป็นอย่างไร รสชาติจะพิลึกพิลั่นหรือเปล่า เพื่อนจึงพาไปเยี่ยมร้านสุวรรณี ...
  • แกงส้มดอกผักปลัง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 177 มกราคม 2537
    แกงส้มดอกผักปลังโดยความตั้งใจเดิมแล้ว อาหารประจำครั้งนี้ดิฉันจะแกงส้มดอกโสน เพื่อจะได้สอดคล้องกับที่คุณ เดชา ศิริภัทร เจ้าของคอลัมน์ “ ต้นไม้ใบหญ้า “ เขียนเรื่องดอกโสนไว้ แต่ด้วยกลไกของธรรมชาติ ทำให้ดิฉันไม่สามารถหาดอกโสนมาแกงส้มได้ เพราะดอกโสนจะมาพร้อมฤดูฝนเท่านั้น ครั้งจะแกงส้มใส่ผักอื่น ไม่ว่าจะเป็นแตงโมอ่อน ผักกาด หัวไชเท้า ...
  • ไข่ต้ม-พริกยำ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 176 ธันวาคม 2536
    ไข่ต้ม – พริกยำเครื่องปรุงพริกยำพริกหนุ่มหรือพริกหยวก, มะเขือเทศ (ลูกเล็ก), น้ำตาลปีบ, น้ำปลา, มะนาว, กุ้งแห้งป่นเคล็ดลับการต้มไข่ ในการต้มไข่ให้ได้เป็นยางมะตูม หากเป็นไข่เป็ดต้องใช้เวลาต้ม (จับเวลาน้ำเด็ด) นานประมาณ10 นาที ถ้าเป็นไข่ไก่ก็ประมาณ7 นาที เมื่อต้มสุกขึ้นมาให้แช่น้ำเย็นทันที ไข่จะได้ไม่ติดเปลือกดิฉันเชื่อแน่ว่า ...
  • แกงออมปลาดุกใบยอ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 175 พฤศจิกายน 2536
    แกงออมปลาดุกใบยอตามที่คุณเดชา ศิริภัทร เจ้าของคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้าบอกไว้เมื่อ3-4 ครั้งที่แล้วว่าจะมีแกงใบยอมาฝาก ดิฉันคิดว่าชาวหมอชาวบ้านที่อ่านเรื่องราวเกี่ยวกับต้นยอบ้านจากคุณเดชาแล้วคงได้ไปเสาะหาต้นยอมาปลูกไว้ในบริเวณบ้านแล้ว แต่อาจจะยังโตไม่ทันให้ท่านนำใบอ่อนมาแกงในวันนี้ ก็คงต้องไปหาซื้อในตลาดหรือขอเพื่อนบ้านเอานะคะในส่วนเครื่องปรุงของน้ำพริกแกงนั้น ใช้สูตรเดียวกับน้ำพริกแกงแดง ...
  • เต้าหู้แป๊ะซะ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 174 ตุลาคม 2536
    เต้าหู้แป๊ะซะหมอชาวบ้านครั้งนี้ต้อนรับเทศกาลกินเจด้วยการไปสืบสาวราวเรื่องเกี่ยวกับการกินเจมาเล่าให้ฟัง คอลัมน์ “เข้าครัว” ไม่อยากน้อยหน้า จึงหาอาหารเจมาฝากท่านผู้อ่านด้วย“เต้าหู้แป๊ะซะ” คือ อาหารจานเด็ดที่อยากให้ชาวหมอชาวบ้านลองเข้าครัวทำกันดู เริ่มต้นด้วยการเตรียมอุปกรณ์เครื่องปรุง ซึ่งประกอบด้วยเต้าหู้2 ก้อน ขิงหั่นฝอยพอประมาณ เห็ดฟาง1 ขีด ...
  • ขนมเหนียว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 173 กันยายน 2536
    ขนมเหนียว“ขนมเหนียว” ที่นำมาให้ชิมในวันนี้เป็นขนมไทยที่มีตั้งแต่สมัยโบราณ แต่ก็ยังถูกปากคนไทยมาจนถึงทุกวันนี้ ในอดีตกว่าจะได้กิน “ขนมเหนียว” ต้องใช้เวลานานมาก เพราะต้องเริ่มตั้งแต่เอาข้าวเหนียวไปแช่ไว้เป็นหลายชั่วโมง แล้วนำมาโม่ให้ละเอียด จากนั้นก็ต้องคอยจนกว่าน้ำจะแห้ง ซึ่งเขาจะใช้วิธีเอาแป้งที่โม่แล้วใส่ถุงผ้าไว้ ปิดปากถุงให้แน่น แล้วหาวัตถุหนักๆ ...
  • ไข่เจียวคอนโด

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 172 สิงหาคม 2536
    ไข่เจียวคอนโดวันนี้ขอนำอาหารพื้นๆ ที่ทุกคนรู้จักกันดีมาแนะนำ นั่นคือ ไข่เจียว ที่เป็นเช่นนี้ เพราะดิฉันประทับใจอย่างยิ่งกับข้อเขียนของคุณประยูร อุลุชาฏะ ในหนังสือรสวิเศษของคนโบราณ ซึ่งเขียนถึงไข่เจียวไว้อย่างน่าสนใจยิ่ง ดิฉันขออนุญาตนำมาเผยแพร่ต่อชาวหมอชาวบ้าน เพื่อให้การเข้าครัวของท่านมีรสชาติและมีศิลปะมากยิ่งขึ้นวิธีทำไข่เจียวตามตำราฝีมือชาวบ้านแบบมาตรฐานนั้น ให้ใส่น้ำมันในกระทะ ...
  • เห็ดแดดเดียว

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 171 กรกฎาคม 2536
    เห็ดแดดเดียวหากใครช่างสังเกตจะพบว่า อาหารที่ดิฉันมาแนะนำในคอลัมน์เข้าครัวนี้ จะเป็นอาหารประเภทผัก ปลา หรือกุ้งเป็นหลัก ทั้งนี้เพราะดิฉันจงใจที่จะเลี่ยงการแนะนำอาหารประเภทหมูหรือเนื้อ เหตุสำคัญก็คือ เนื้อสัตว์ประเภทหมูหรือเนื้อแม้จะเป็นแหล่งโปรตีนที่สำคัญ แต่มีความเสี่ยงมากกว่าอาหารประเภทอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารประเภทพืชผัก ซึ่งสามารถเป็นแหล่งโปรตีที่ดีไม่แพ้กัน ยกตัวอย่างเช่น ...
  • ยำปลาทู

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 170 มิถุนายน 2536
    ยำปลาทูพอเอ่ยถึงปลาทู ดิฉันเชื่อได้ว่าแทบจะไม่มีใครไม่รู้จัก แม้กระทั่งเด็กตัวเล็ก และดูเหมือนจะเป็นปลาที่เรารู้จักเป็นชนิดแรก ที่ยอดฮิตก็คงจะหนีไม่พ้นน้ำพริกปลาทู ซึ่งเป็นอาหารของไทยเราแต่ดั้งเดิม ไม่ว่าจะยากดีมีจนก็มีโอกาสได้ลิ้มชิมรสกันทั้งนั้นจะว่าไปแล้วดิฉันคิดว่า ปลาทูน่าจะเป็นเพื่อนคู่ครัวของคนไทย วันนี้ดิฉันจึงเอาอาหารที่ปรุงจากปลาทูมาฝากชาวหมอชาวบ้าน นั่นคือ ยำปลาทู ...
  • «
  • ‹
  • …
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • 11
  • 12
  • 13
  • 14
  • 15
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • โรคกระดูก
  • โรคตา
  • โรคน่ารู้
  • โรคปวดข้อ ปัญหาระดับชาติที่แอบแฝง
  • โรคผิวหนัง
  • โลก(ของ)สุขภาพ
  • โลกกว้างและการแพทย์
  • โลกของเรา
  • โลกสีเขียว
  • ใจเขาใจเรา
  • ในทุกข์ยังมีสุข
  • ไขข่าววิ่ง
  • ‹‹
  • 14 จาก 14
  •  

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa