-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
302
มิถุนายน 2547
ส่องเทศ...มองไทย...นโยบายป้องกันเด็กอ้วนผศ.ดร.สำอาง สืบสมานการระบาดของโรคอ้วนที่แพร่กระจายไปทั่วโลกเปรียบเสมือนระเบิดเวลา เพราะความอ้วนก่อให้เกิดความผิดปกติของระบบการทำงานของร่างกายที่เป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งของโรคเสื่อมสังขารก่อนวัยอันควร เช่น เบาหวาน ความดันเลือดสูง หลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งบางชนิด เป็นต้นองค์การอนามัยโลกประกาศให้ความอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขของมวลมนุษยชาติ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
300
เมษายน 2547
ฟันผุในเด็กไทยสถานการณ์ฟันผุของเด็กไทยโรคและความผิดปกติในช่องปากของเด็กเล็กมีหลายประการ แต่ปัญหาที่ชัดเจนที่สุดคือโรคฟันผุ พบว่า โดยมากแล้วเด็กเป็นโรคฟันผุตั้งแต่ก่อนอายุ ๑ ขวบ และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงเด็กอายุ ๑-๓ ขวบ และการที่เด็กมีฟันผุผู้ใหญ่กลับคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา แต่จริงแล้วฟันผุเป็นเรื่องอันตราย เพราะเด็กมีภูมิต้านทานน้อย แม้จะไม่อันตรายถึงแก่ชีวิตแต่ก็ทำให้เด็กเจ็บปวดทรมาน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
299
มีนาคม 2547
โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า : การประเมินความเสี่ยงรวม (ตอนที่ ๒)ตอนที่แล้วได้พูดถึงสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รวมถึงวิธีการประเมินความเสี่ยงรวมของสหรัฐอเมริกา ในตอนนี้มาดูวิธีการประเมินความเสี่ยงรวมของชาวยุโรปกันดีกว่า ที่เรียกว่าระบบ SCORE อีกวิธีหนึ่งที่น่าจะใช้ได้กับคนไทยอย่างเหมาะสมกว่าคือ วิธีการประเมินความเสี่ยงรวม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
298
กุมภาพันธ์ 2547
โอกาสที่คุณจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า : การประเมินความเสี่ยงรวม (ตอนที่ ๑)ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของคนไทย ทุกๆ ชั่วโมงจะมีคนไทยตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ๕ คน ตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ๒ คน ตายจากเบาหวาน ๒ คน สาเหตุที่สำคัญของโรคหัวใจและหลอดเลือดเกิดจากการแข็งและตีบตันของหลอดเลือดแดง(atherosclerosis) ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
297
มกราคม 2547
วิถีชีวิตกับโรคหัวใจและหลอดเลือดชีวิตคนเราอยู่ในโลกแห่งความเสี่ยง เดินทางโดยรถยนต์ก็เสี่ยงต่ออุบัติภัยจราจร นั่งเรือก็เสี่ยงต่ออุบัติภัยทางน้ำ เดินข้างถนนบางครั้งก็ยังเสี่ยงต่อรถปีนฟุตปาทมาทับ หรือแม้แต่การเสี่ยงโชค ซื้อหวยก็เสี่ยงต่อการถูกกิน เหตุการณ์ที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นความเสี่ยงแบบฉับพลัน ที่จริงยังมีความเสี่ยงแบบเรื้อรังอยู่เหมือนกัน เช่น กินข้าวขาหมูมันๆ บ่อยๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
289
พฤษภาคม 2546
เคล็ดลับ จัดการลูกอ้วนจากการศึกษาที่ผ่านมาชี้ว่า เด็กที่อ้วนมักเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วน โดยเด็กที่อ้วนในระยะเข้าสู่วัยรุ่นจะยิ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะกลายเป็นผู้ใหญ่อ้วน จากผลการสำรวจภาวะสุขภาพและโภชนาการในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า ร้อยละ ๑๐-๒๐ ของทารกที่อ้วนจะยังคงอ้วนเมื่อเข้าสู่วัยเด็ก ร้อยละ ๔๐ ของเด็กที่อ้วนจะยังคงอ้วนในวัยรุ่น และร้อยละ ๗๕-๘๐ ของวัยรุ่นที่อ้วนจะกลายเป็นผู้ใหญ่อ้วน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
288
เมษายน 2546
เด็กไทยกับนิสัยการกินโรคอ้วนหรือภาวะโภชนาการเกิน กลายเป็นโรคที่กำลังระบาดอยู่ทั่วโลก ทั้งในประเทศที่พัฒนา แล้วและที่กำลังพัฒนา มีรายงานว่าประมาณร้อยละ ๕๕ ของประชากรผู้ใหญ่ในประเทศสหรัฐอเมริกามีภาวะโภชนาการเกิน นอกจากนี้ยังพบว่าในเด็กทุก ๔ คน จะเป็นเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน ๑ คน ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
287
มีนาคม 2546
โรคฟันผุ เป็นปัญหาทันตสุขภาพที่สำคัญในประชาชนไทยโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก แม้จะมีความพยายามในการพัฒนา มีมาตรการส่งเสริมป้องกันใน กลุ่มเด็กมาโดยตลอด กลับพบแนวโน้มของปัญหาโรคฟันผุในเด็กกลุ่มนี้เพิ่มสูงขึ้นอย่างน่าเป็นห่วงจากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติซึ่ง ดำเนินการสำรวจทุก ๕ ปี พบว่าเด็กกลุ่มอายุ ๓ ปี มีอัตราฟันน้ำนมผุเฉลี่ยกว่าร้อยละ ๖๐ ขณะที่กลุ่ม อายุ ๕-๖ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
286
กุมภาพันธ์ 2546
การเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อสุขภาพแบบองค์รวมยุคนี้นับได้ว่าเป็นยุคทองของการสร้างเสริมสุขภาพอย่างแท้จริง การเคลื่อนไหวร่างกายรวมถึงการออกกำลังกายก็ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญชิ้น หนึ่งในยุคสร้างเสริมสุขภาพ และนับเป็นครั้งแรกที่ นโยบายการเคลื่อนไหวและการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ขอเน้นว่าเพื่อสุขภาพ ได้รับการเขียนเป็น แผนงานอย่างเป็นทางการและเป็นรูปธรรมในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติคำว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
283
พฤศจิกายน 2545
เพื่อรับมือกับโรคหัวใจและหลอดเลือด (ตอนจบ)ระบบบริการสุขภาพตราบเท่าที่ยังมีคนป่วยเจ็บ ระบบบริการสุขภาพ ย่อมมีความจำเป็นและคงต้องปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ระบบบริการสุขภาพในวันนี้เป็นมรดกของ ยุคโรคติดต่อ เป็นระบบบริการสุขภาพแบบตั้งรับเน้นการซ่อมสุขภาพ ถนัดในการใช้เทคโนโลยี ถนัด ในการตัดสินใจแทนคนไข้ และถนัดในการดูแลปัญหา เฉียบพลันมากกว่าปัญหาเรื้อรัง ครึ่งหนึ่งของคนไทย ...