Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » อาหารสมุนไพร

อาหารสมุนไพร

  • มะเขือยาว ยารักษาฝีที่ดี

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 101 กันยายน 2530
    เมื่อเอ่ยถึงมะเขือยาว ใครๆก็ร้องอ๋อ! เพราะเป็นอาหารที่คนไทยเรานิยมกินกันตลอดปี โดยเฉพาะมะเขือยาวเผาจิ้มน้ำพริก หรือยำมะเขือยาวเผา พูดแล้วรู้สึกทำให้น้ำลายไหลเลยทีเดียว มะเขือยาวนอกจากเป็นอาหารที่อร่อยอย่างหนึ่งแล้ว ยังใช้เป็นยาได้อีกด้วยชื่อวิทยาศาสตร์ Solanum melongena Linn วงศ์ Solanaceaeสรรพคุณผล มีคุณสมบัติเย็น รสหวาน รักษาผิวหนังเป็นแผล ริดสีดวงมีเลือดออก เป็นฝีบวมแดง แก้ปวดดอก ...
  • ถั่วเขียว อาหารสำหรับหน้าร้อน

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 100 สิงหาคม 2530
    อากาศร้อน หลังทำงานเหน็ดเหนื่อย กินถั่วเขียวต้มสักชามก็จะรู้สึกชุ่มฉ่ำใจ แก้กระหายน้ำได้เป็นอย่างดีถ้านอนดึกมีอาการร้อนใน หรือตาแดง เจ็บคอ ท้องผูก ถ้าต้มถั่วเขียวกินก็จะทำให้อาการดังกล่าวหายไป เราสามารถเลือกกินได้ทั้งร้อนหรือเย็น หวานหรือจืดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละบุคคล ชื่อวิทยาศาสตร์ Vigna radiate L. วงศ์ Leguminosae หน้าร้อน ผิวหนังมักเป็นผดผื่นคัน ใช้ถั่วเขียว ใบบัว ...
  • ผักชีโรยหน้าจริงหรือ?

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 99 กรกฎาคม 2530
    โดยทั่วไปเรามักใช้ผักชีโรยหน้าอาหาร หรือน้ำแกงที่กินเพื่อปรุงรสและเพิ่มความอร่อยของอาหาร แต่ในภาษาไทยเรามักใช้คำว่า “ผักชีโรยหน้า” มาใช้ในความหมายที่ไม่ดีการกินผักชีส่วนใหญ่มักกินดิบๆ ไม่ปรุงให้สุก แต่ก็มีที่ปรุงให้สุกแล้วจึงกิน ดังนั้นในการกินผักชีจึงควรล้างให้สะอาด (อย่าล้างอย่างลวกๆอย่างผักชีโรยหน้า) หรือจะลวกน้ำร้อนเพื่อทำลายไข่พยาธิและเชื้อโรคบางชนิดก็ได้ชื่อวิทยาศาสตร์ ...
  • แตงกวา สมุนไพรใช้เสริมสวย

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 98 มิถุนายน 2530
    อากาศร้อนอบอ้าวถ้าได้กินน้ำแกงแตงกวากับกุ้ง หรือหมูสับ เป็นน้ำแกงก็คงจะทำให้ชื่นคอชุ่มใจได้ ดังนั้นหน้าร้อนนี้อย่าลืมนำเอาแตงกวามาปรุงเป็นอาหารกินในครอบครัวท่านเสียนะครับถิ่นกำเนิดของแตงกวาคืออินเดีย แตงกวาได้แพร่เข้าไปในประเทศจีนเป็นเวลานานกว่า 2 พันปีมาแล้ว จากสถิติแตงกวาที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่ปลูกได้ เมื่อหลายปีมาแล้วมีชาวสวนของบราซิลท่านหนึ่งได้ปลูกแตงกวา และมีลูกหนึ่งมีน้ำหนัก 32 กก. ยาว ...
  • วัว - สัตว์ที่มนุษย์ยกย่อง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 97 พฤษภาคม 2530
    สัตว์ที่มนุษย์ยกย่องไม่มีสัตว์ใดเกินกว่าวัว ตั้งแต่อดีตจวบจนทุกวันนี้ โดยเฉพาะในประเทศอินเดีย วัวเป็นสัตว์ที่ชาวฮินดูนับถือเหมือนหนึ่งพระเจ้า วัวไม่เพียงแต่ช่วยไถนา ลากเกวียน ใช้แรงงานอื่นๆ แล้ว วัวยังเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอีกด้วยประวัติศาสตร์ของหลายๆประเทศ วัวเคยมีบทบาทในสมรภูมิสงครามและรบได้ชัยชนะมาหลายครั้ง ประโยชน์ของวัวนั้นมีมากมาย นักประพันธ์ผู้ยิ่งใหญ่ของจีน หลู่ซิ่น ...
  • ผักป๋วยเล้ง ธาตุเหล็กจากพืช

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 96 เมษายน 2530
    ผักป๋วยเล้ง ธาตุเหล็กจากพืชผักป๋วยเล้งมีถิ่นกำเนิดที่ประเทศอาหรับ ชาวอาหรับให้สมญาผักป๋วยเล้งว่า “ราชาแห่งผัก” มีบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ถัง สมัยพระเจ้าถังไท่จง กษัตริย์เนปาลได้ถวายเครื่องราชบรรณาการ โดยมีผักป๋วยเล้งอยู่ด้วย ⇒ ชื่อวิทยาศาสตร์ Spinacia oleraceae วงศ์ Channopodiaceae⇒ สรรพคุณ ผักป๋วยเล้งมีคุณสมบัติเย็น รสหวาน สรรพคุณบำรุงเลือด ...
  • พริก ยาฆ่าแมลงธรรมชาติ

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 95 มีนาคม 2530
    พริก ยาฆ่าแมลงธรรมชาติถิ่นเดิมของพริกขึ้นอยู่แถบทวีปอเมริกาใต้ ได้แก่ เม็กซิโก เปรู เป็นต้น ชาวอินเดียนแดง เป็นชนเผ่าแรกที่ปลูกและกินพริก ใช้พริกปรุงอาหาร ในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ได้มีผู้นำพริกเข้าไปในยุโรป และราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้แพร่เข้าไปยังประเทศจีนและประเทศอื่นๆในเอเชีย⇒ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Capsicum frutescens. L. (C. minimum Roxb) วงศ์ Solanaceae ในพริกมีแคปซายซิน (Capsaicin) ...
  • นม – อาหารธรรมชาติที่ทรงคุณค่า

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 94 กุมภาพันธ์ 2530
    นม – อาหารธรรมชาติที่ทรงคุณค่าน้ำนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก ในน้ำนมแม่นอกจากมีอาหารที่เหมาะสำหรับเด็กเกิดใหม่แล้ว ทารกยังสามารถย่อยและดูดซึมได้ง่ายอีกด้วยนอกจากนี้ น้ำนมแม่ยังมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบของภูมิคุ้มกัน (Immunoprotein) หลายชนิดที่สร้างภูมิคุ้มกันให้ทารกทำให้ทารกแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันโรคได้ เพราะฉะนั้นคุณแม่ควรจะเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ ...
  • เป็ด-เป็ด(ย่าง)ปักกิ่ง

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 91 พฤศจิกายน 2529
    เป็ด-เป็ด(ย่าง)ปักกิ่ง⇒ เป็ด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Anas domestica L.พอเอ่ยถึงเป็ดปักกิ่ง ใครๆก็ร้องอ๋อ เป็ดปักกิ่งเป็นอาหารที่ทั่วโลกรู้จักเป็นอย่างดี เป็นศิลปะการกินเป็ด ของชาวจีน ซึ่งมีประวัติอันยาวนานมาแล้วจีนเป็นชาติแรกที่รู้จักการเลี้ยงเป็ด ดังที่บันทึกไว้ในหนังสือ “เอ่อหย่า” จนกระทั่งราวคริสต์ศักราชที่1 ชาวยุโรปจึงค่อยๆรู้จักเลี้ยงเป็ด ...
  • มันฝรั่ง – อาหารหลักของชาวยุโรป

    นิตยสารหมอชาวบ้าน 90 ตุลาคม 2529
    มันฝรั่ง – อาหารหลักของชาวยุโรป⇒ มันฝรั่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Solanum tuberosum Linn. วงศ์ Solanaceae แหล่งกำเนิดของมันฝรั่งคือประเทศเปรู ได้มีการขุดพบเครื่องใช้ที่มีรูปร่างคล้ายมันฝรั่ง ซึ่งสันนิษฐานว่า ทำขึ้นประมาณ 200 กว่าปีก่อนคริสต์ศักราช (2,200 ปีมาแล้ว) จากหลักฐานดังกล่าว ...
  • «
  • ‹
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • ข่าว
  • ข่าวสารจากเลขาธิการแพทยสภา
  • คนกับงาน
  • คนไข้หัวเราะ คุณหมอที่รัก
  • ครอบครัว
  • คลินิกจิตแพทย์
  • ความรู้เรื่องยา
  • คอลัมน์พิเศษในเล่ม
  • คัมภีร์ชีวิต
  • คำคมทางการแพทย์
  • คำถามที่ท่านควรรู้ในเวชปฏิบัติทั่วไป
  • คุยกันทางวิทยุ
  • คุยกันเรื่องยา
  • คุยกับ หมอ 3 บาท
  • คุยกับผู้อ่าน
  • ‹‹
  • 2 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa