Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ปิยวาจาทางคลินิก

ปิยวาจาทางคลินิก (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • ฉันไม่เชื่อหมอหรอก (2)

    วารสารคลินิก 293 พฤษภาคม 2552
    ปิยวาจาทางคลินิกฉบับที่แล้ว เราคุยกันถึงเรื่องคนไข้มีปัญหา ไม่เชื่อฟัง ไม่ยอมทำตามคำแนะนำที่คุณหมอมีให้ด้วยความปรารถนาดี คนไข้กรณีแบบนี้มักทำให้คุณหมอเกิดความหงุดหงิดรำคาญใจ พาลไม่อยากจะรักษาเอา และที่ร้ายกว่านั้น...คนไข้กลุ่มนี้มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เสียด้วยสิครับ.ที่จริงแล้วการที่คนไข้หนึ่งคนเลือกที่จะ "เชื่อ" หรือ "ไม่เชื่อ" คุณหมอนั้น ...
  • ฉันไม่เชื่อหมอหรอก (1)

    วารสารคลินิก 292 เมษายน 2552
    คุณเพ็ญจันทร์อายุ 65 ปี ถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลด้วยอาการหมดสติ เธอมีประวัติเป็นโรคเบาหวานอยู่ก่อนแล้ว ตอนมาถึงที่ห้องฉุกเฉิน พยาบาลเจาะน้ำตาลในเลือดได้ 880มก.% วัดค่า pH ได้ 7.1 แพทย์เวรวินิจฉัยว่าเธอเป็น diabetic ketoacidosis และส่งตัวคุณเพ็ญจันทร์เข้าไปรับการรักษาต่อที่ห้องไอซียู.หลังจากนอนพักในไอซียูอยู่นานเกือบสองสัปดาห์ คุณเพ็ญจันทร์ก็อาการดีมากพอที่จะย้ายออกมาอยู่หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิงได้ ...
  • โศก เศร้า เหงา กลัว

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    "โศก เศร้า เหงา กลัว"ไม่ใช่ว่าผมกำลังจะชวนคุณหมอไปชมภาพยนตร์เรื่องใหม่กันหรอกนะครับ แต่ปิยวาจาทางคลินิกฉบับนี้เรากำลังจะมาคุยกันถึงเรื่องปฏิกิริยา ทางอารมณ์บางอย่างของคนไข้ต่างหาก.ก่อนอื่นเลย ผมคงต้องถามคุณหมอว่า ในชีวิตการเป็นแพทย์คุณหมอออกโอพีดีตรวจคนไข้ แล้วเจอคนไข้มานั่งร้องไห้กับคุณหมอหรือไม่ ? เคยเจอกี่รายครับ ...
  • เพิ่มพลังแห่งการสื่อสาร (2) Increasing Power of Communication

    วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    ในโลกยุคดิจิทัลที่วิทยาการก้าวหน้าไปมาก การติดต่อสื่อสารของผู้คนยุคปัจจุบัน มักจะผ่านทางระบบไร้สายและคอมพิวเตอร์ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อบุคคลจึงดูเหมือนจะมีลดความสำคัญลงไปทุกขณะ.หากเวชปฏิบัตินั้นคือศิลปะชั้นสูงที่แพทย์และบุคลากรจะต้องประมวลเอาวิชาความรู้มาใช้ร่วมกับทักษะในการดูแลคนไข้ การสื่อสารระหว่างแพทย์และคนไข้จึงเป็นสิ่งสำคัญมาก ที่ผ่านมาการเรียนการสอนในระบบแพทยศาสตร์ศึกษา ...
  • ปวดเมื่อย เหนื่อยเพลีย ละเหี่ยใจ

    วารสารคลินิก 286 ตุลาคม 2551
    ในวารสารคลินิกสองเดือนที่ผ่านมา เราคุยกันถึงคนไข้กลุ่ม somatization หรือคนไข้ ที่มาหาด้วยอาการหลายๆ ระบบกันไปแล้ว. ในเดือนนี้เราจะมาคุยกันถึงคนไข้อีกกลุ่มหนึ่ง ที่พบมากที่แผนกผู้ป่วยนอก คนไข้กลุ่มนี้มักมาหาคุณหมอด้วยอาการปวดๆ เมื่อยๆ บางคนปวดมาก บางคนปวดน้อย ตรวจรักษาให้ยาเท่าไรก็ไม่หายสักที ละเหี่ยใจกันไปทั้งคนไข้และหมอ.เมืองไทยเรามีคนไข้กลุ่มนี้เยอะครับ ...
  • ปวดหัว ตัวร้อน นอนไม่หลับ ขยับไม่ไหว ใจสั่น (2)

    วารสารคลินิก 285 กันยายน 2551
    เมื่อคุณหมอพบว่าคนไข้ที่มีหามีอาการทางร่างกายหลายระบบ ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการแล้วไม่พบอะไรผิดปกติเลย แถมก่อนหน้านี้ คนไข้ตระเวณหาหมอ ไปรักษามาแล้วหลายที่ คนไข้กลุ่มนี้เรียกว่า คนไข้ somatization ซึ่งจัดเป็นกลุ่มคนไข้ที่ดูแลยาก ต้องอาศัยทักษะหลายด้านมาใช้ร่วมกัน โดยเฉพาะทักษะเรื่องของการสื่อสารกับคนไข้ นับเป็นสิ่งสำคัญที่สุด.การดูแลคนไข้ somatization มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ครับ1. ...
  • ปวดหัว ตัวร้อน นอนไม่หลับ ขยับไม่ไหว ใจสั่น (1)

    วารสารคลินิก 284 สิงหาคม 2551
    ในชีวิตความเป็นหมอของพวกเรา ผมเชื่อว่าคุณหมอแต่ละท่านคงจะเคยพบกับคนไข้บางรายที่รู้สึกว่าดูแลยากเหลือเกิน โดยเฉพาะรายที่มาด้วยอาการแสดงของหลายระบบ และสุดท้ายแล้วคุณหมอก็ตรวจไม่พบความผิดปกติอะไร ดังเช่นคนไข้ในตัวอย่างต่อไปนี้ เราลองมาดูกันครับคุณหมออมร ออกตรวจผู้ป่วยนอกและได้พบกับคนไข้ผู้หญิงคนหนึ่งชื่อคุณลีลา อายุ 35 ปี มีอาชีพเป็นเจ้าของร้านเบเกอรี่ชื่อดัง. คุณลีลามาด้วยอาการเจ็บแน่นหน้าอก ...
  • ความหวัง (Hope)

    วารสารคลินิก 283 กรกฎาคม 2551
    บทความปิยวาจาทางคลินิกฉบับที่เราคุยกันถึงเรื่องความอยากรู้ หรือ curiosity ผมเล่าปกรณัมกรีกเรื่องหีบของแพนดอร่าให้คุณผู้อ่านฟัง. คุณหมอที่ไม่ได้อ่านบทความเล่มนั้น ผมขอเท้าความนิดหนึ่งนะครับ เพื่อที่เราจะได้อ่านบทความตอนนี้ได้อย่างสนุกและมีอรรถรส.แพนดอร่าคือมนุษย์ผู้หญิงซึ่งจิตของเธอเต็มไปด้วยความอยากรู้อยากเห็น และแอบไปเปิดกล่องไม้ที่พระเจ้าฝากเอาไว้ ...
  • จากหมอถึงหมอ

    วารสารคลินิก 281 พฤษภาคม 2551
    มีคำกล่าวว่า คนเก่งคนมีความสามารถมักมีอัตตาสูง...คำกล่าวนี้เป็นจริงหรือไม่ ?แต่เหตุการณ์จำลองต่อไปนี้ เป็นเหตุการณ์จริง เกิดขึ้นที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ในเช้าวันที่มีคนไข้มารอรับการตรวจรักษามากมาย เรามาดูกันครับคุณเกศินีก็เป็นคนไข้รายหนึ่งที่มาตรวจในเช้าวันนั้น ด้วยอาการเจ็บแน่นหน้าอก เธอเป็นโรคหัวใจขาดเลือดและเคยผ่าตัดเปลี่ยนหลอดเลือดหัวใจมาเมื่อ 5 ปีก่อน ...
  • อยากรู้ไหมล่ะ?

    วารสารคลินิก 280 เมษายน 2551
    เช้าของวันศุกร์ วันสุดท้ายของการทำงาน หมอพรรณีออกตรวจคนไข้ด้วยความรู้สึกสดชื่น เพราะทำงานอีกแค่วันเดียวก็จะถึงวันหยุดสุดสัปดาห์แล้วเพราะเป็นวันศุกร์คนไข้เลยมีไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกันวันอื่นๆ คนไข้รายแรกในวันนั้นคือคุณป้าสมจิตร มาด้วยอาการไอและหายใจหอบ.หลังจากซักประวัติและตรวจร่างกาย รวมถึงเอกซเรย์ปอดจนเรียบร้อย คุณหมอพรรณีก็ลงความเห็นว่าคุณป้าสมจิตรเป็นโรคถุงลมปอดโป่งพอง หรือ ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa