Skip to main content
ข้อมูลสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
menu

Login Pop

  • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
search
  • เว็บหลักหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ
หน้าแรก » บทความสุขภาพน่ารู้ » คอลัมน์ » ถาม-ตอบเรื่องยา

ถาม-ตอบเรื่องยา (สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ)

  • การใช้ยาเพื่อป้องกัน stress ulcer ที่เหมาะสมเป็นอย่างไร

    วารสารคลินิก 291 มีนาคม 2552
    ถาม : การใช้ยาเพื่อป้องกัน stress ulcer ที่เหมาะสมเป็นอย่างไรตอบ : Stress-related mucosal damage (SRMD) หรือ stress ulcer เป็นภาวะเครียดของร่างกายที่ทำให้เยื่อบุทางเดินอาหารบาดเจ็บ ร้อยละ 75-100 ของผู้ป่วยวิกฤต จะเกิด SRMD ซึ่งโดยทั่วไปจะไม่มีอาการ. อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยอาจมีอาการเลือดออกได้ overt Stress-Related Mucosal Bleeding (overt SRMB) หรือ ...
  • ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้

    วารสารคลินิก 290 กุมภาพันธ์ 2552
    ถาม :ทำไมยาเม็ดบางอย่างไม่สามารถบดให้กับผู้ป่วยได้ ตอบ : ยาในรูปแบบเม็ดนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด1. ยาออกฤทธิ์เนิ่น (sustained release) เช่น ชื่อยาที่มีคำต่อท้ายว่า CR, MR, SR, XL ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อปลดปล่อยตัวยาช้าๆ และต่อเนื่อง. ตัวอย่างเช่น Adalat CR, Diamicron MR, Klacid MR, Neulin SR, Xatral XL ...
  • Isotretinoin กับความสัมพันธ์ในการเกิด Hepatotoxic

    วารสารคลินิก 288 ธันวาคม 2551
    เมื่อกินวิตามินเอเข้าสู่ร่างกาย วิตามินเอจะไปสะสมที่ตับ และหากมีการสะสมของวิตามินเอสูง ก็อาจนำไปสู่ความผิดปกติที่เรียกว่าภาวะ hypervitaminosis A เนื่องจาก isotretinoin เป็น vitamin A (Retinol) analog. ดังนั้น อาการข้างเคียงจะคล้ายกับกลุ่มอาการ hypervitaminosis A ซึ่งอาการข้างเคียงที่ทั่วไป ได้แก่ ริมฝีปากอักเสบ (cheilitis) ผิวหนังแห้ง ผื่นคัน (pruritus) ตาแห้ง ตาอักเสบ (conjuctivitis) ...
  • คำถามเกี่ยวกับยาบรรเทาปวด

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถาม หญิงโสดอายุ 20 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็ง nasopharynx ระยะที่ 4 มีอาการปวดระดับรุนแรงที่สะโพกเนื่องจากมีการกระจายของโรคมะเร็งไปที่กระดูก (pain score 10/10 จาก visual analog scale). ผู้ป่วยได้กินยาแก้ปวด tramadol (50 มก.) 1x4 pc ภายหลังจากที่ได้รับยา อาการปวดทุเลาลง(pain score ลดลงเหลือ 7/10) มีคำถามจากทีมรักษาว่าสามารถเพิ่มยา morphine ...
  • คำถามเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ

    วารสารคลินิก 287 พฤศจิกายน 2551
    ถามการใช้ยา sulperazone จำเป็นต้องให้วิตามินเค ร่วมด้วยทุกครั้งหรือไม่ตอบยา sulperazone เป็นยาปฏิชีวนะ ประกอบ ด้วยยา 2 ชนิด คือ cefoperazone และ sulbactam อย่างละ 1 กรัม เนื่องจากโครงสร้างของ cefoperazone จะไปรบกวนการสร้างวิตามินเคของผู้ป่วย ส่งผลให้เกิด hypoprothrombinemia และอาจเพิ่มความเสี่ยงของเลือดออกมากกว่าปกติถึงแม้ว่าจะมีโอกาสไม่มากก็ตาม.ในกรณีที่พบว่าผู้ป่วยเกิดอาการ ...
  • Nonopioid analgesics in postoperative pain

    วารสารคลินิก 278 กุมภาพันธ์ 2551
    มีการใช้ nonopioid analgesics หลายชนิดในการระงับปวดหลังผ่าตัด ที่พบมาก ได้แก่ NSAIDs และ acetaminophen และยังมียากลุ่มอื่นที่ใช้ในการระงับปวดร่วมกับยาเหล่านี้ เช่น ยากลุ่ม tricyclic antidepressants anticonvulsants ยาชาเฉพาะที่ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะ acetaminophen และ NSAIDs.โดยทั่วไป nonopioid analgesics จะใช้เดี่ยวๆในการรักษาอาการปวดน้อยถึงปานกลาง และมักใช้ร่วมกับ opioids ...
  • ความล้มเหลวในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของยารักษาโรคเบาหวาน

    วารสารคลินิก 273 กันยายน 2550
    Q : ความล้มเหลวในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของยารักษาโรคเบาหวานแต่ละชนิดแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร? ภาพที่ 1. แสดงประสิทธิภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยวิธีการต่างๆที่ระยะเวลา 3,6 ...
  • การใช้ COX-2 inhibitor ร่วมกับ proton-pump inhibitor ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบเรื้อรังหรือข้อเสื่อม

    วารสารคลินิก 272 สิงหาคม 2550
    American College of Rheumatology แนะนำให้ใช้ยาในกลุ่ม cyclo-oxygenase (COX-2) inhibitor หรือยา non-selective NSAID ร่วมกับยา proton-pump inhibitor (PPI) ในการรักษาผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร.1,2ข้อแนะนำดังกล่าวอาจจะล้าสมัยเสียแล้ว เพราะการศึกษาแบบ randomized trial3,4 แสดงให้เห็นว่าการเกิดแผลในทางเดินอาหารไม่ต่างกันระหว่างผู้ป่วยที่ใช้ celecosib อย่างเดียวเทียบกับที่ใช้ ...
  • ปัญหาที่มักพบในการรักษา neuropathic pain

    วารสารคลินิก 271 กรกฎาคม 2550
    Neuropathic pain หมายถึง อาการปวดแบบเรื้อรัง (chronic pain) ซึ่งหาสาเหตุของการเกิดไม่ได้ แตกต่างกับอาการปวดแบบเฉียบพลัน (acute pain) ที่หาสาเหตุได้ นอกจากนี้ระยะเวลาในการเป็นนั้นนานกว่า 3 เดือน แม้ว่าจะใช้ยาในการรักษาเป็นเพียงการบรรเทาแต่ไม่สามารถที่จะหายขาดได้ เนื่องจากใยประสาทรับความรู้สึกถูกทำลายโดยตรง หรือเกิด central sensitization ...
  • Tardive dyskinesia ที่เกิดจากการใช้ยารักษาโรคจิต

    วารสารคลินิก 269 พฤษภาคม 2550
    Antipsychotics-induced tardive dyskinesia ...
  • 1
  • 2
  • ›
  • »
Skip to Top

บทความสุขภาพน่ารู้

  • 108 ปัญหายา
  • Guideline
  • กฎหมายการแพทย์น่ารู้
  • กดจุดเพื่อสุขภาพ
  • กรมควบคุมโรค
  • กลไกการเกิดโรค
  • กว่าจะเป็นแม่
  • กันไว้ดีกว่าแก้
  • การรักษาขั้นต้น
  • การรักษาพื้นบ้าน
  • การแพทย์ตะวันออก
  • การใช้ยา พอเพียง
  • การ์ตูน "กินสร้างสุข"
  • กินถูก...ถูก
  • กีฬาบำบัด
  •  
  • 1 จาก 14
  • ››

แผนผังเว็บไซต์

  • หน้าแรก
  • ดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง
  • บทความสุขภาพน่ารู้
  • สื่อสุขภาพ
  • คำถามสุขภาพ
  • ข่าวสาร
  • ติดต่อหมอชาวบ้าน
  • ข้อปฏิเสธความรับผิดชอบ

รวมลิงค์เครือข่าย

  • มูลนิธิหมอชาวบ้าน
  • สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • สถาบันโยคะวิชาการ

สื่อสุขภาพ

  • คลิปสุขภาพ
  • หมอชาวบ้านรายเดือน
  • คลินิกรายเดือน
  • จดหมายข่าวย้อนหลัง
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
  • feed หมอชาวบ้าน
  • facebook หมอชาวบ้าน
  • twitter หมอชาวบ้าน
  • youtube หมอชาวบ้าน
สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบัน ChangeFusion พัฒนาระบบโดย Opendream สัญญาอนุญาต cc by-nc-sa