วินิจฉัยโรคเบื้องต้น
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
188
ธันวาคม 2537
ความดันต่ำไม่ใช่โรค “คุณหมอคะ ดิฉันมีอาการเวียนศีรษะหน้ามืดบ่อยๆ ไม่ทราบว่าใช่เป็นโรคความดันต่ำหรือเปล่าคะ” หญิงสาววัย ๓o เศษเอ่ยขึ้น“ส่วนมากจะมีอาการตอนไหน หรือขณะทำอะไรครับ” หมอซัก“มักจะเป็นอยู่วูบเดียวตอนลุกขึ้นนั่งหรือลุกขึ้นยืน พอตั้งหลักได้สักครู่ก็หาย แล้วก็ทำอะไรได้ปกติทุกอย่าง”หลังจากซักถามอาการต่างๆ ตรวจร่างกาย พร้อมทั้งวัดความดันเลือดเสร็จ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
188
ธันวาคม 2537
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 4)ตัวอย่างคนไข้รายที่ 3ชายไทยรูปร่างท้วม อายุ 40 กว่าปี หิ้วถุงเอกซเรย์และกระเป๋าเอกสารเข้ามาพบหมอชาย : “สวัสดีครับคุณหมอ ผมไม่ค่อยสบาย แต่ไม่ทราบว่าเป็นอะไรแน่ รักษามาหลายแห่งแล้ว อาการไม่ดีขึ้น จึงมาหาหมอ”หมอ : “สวัสดีครับ คุณเอาใบส่งตัวจากหมอคนเดิมมาด้วยหรือเปล่า”ชาย : “เปล่าครับ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
187
พฤศจิกายน 2537
20 ถาม – ตอบ เรื่อง...กาฬโรค 1. ทำไมจึงชื่อกาฬโรค บางคนเรียกไข้ดำ หรือมฤตยูทมิฬ บ้างว่ามฤตยูดำชื่อกาฬโรค เป็นศัพท์ที่เมืองไทยใช้เฉพาะมานาน มาจากคำภาษาอังกฤษที่ว่าพล๊าก(plague) จากรายงานการบันทึก โรคนี้เริ่มระบาดครั้งแรกในคริสศตวรรษที่ 6 (ประมาณ พ.ศ. 1085) ที่ประเทศอียิปต์ ทวีปแอฟริกา หรือกาฬทวีป (แห่งลุ่มน้ำไนล์) จะได้ชื่อโรคตามทวีปหรือไม่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
187
พฤศจิกายน 2537
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 3) ฉบับที่แล้วผมค้างไว้เรื่องตัวอย่างรายการตรวจสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ พร้อมทั้งราคาโดยประมาณ เผื่อบางทีคนที่ชอบเป็นโรคหัวใจเห็นรายการตรวจแล้วอาจจะเลิกอยากเป็นโรคหัวใจก็ได้4. การถ่ายภาพรังสีของกล้ามเนื้อหัวใจหลังให้สารกัมมันตภาพรังสี (radionuclide cardiac imaging) : เช่น การฉีด thallium – 201 แล้วถ่ายภาพรังสีหัวใจเป็นระยะๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
186
ตุลาคม 2537
เจ็บหัวใจ (ตอนที่ 2) ตัวอย่างผู้ป่วยรายที่ 2หญิงไทยอายุ 45 ปี หน้าตามีแววกังวลและไม่สบาย เดินอย่างระโหยโรยแรงเข้ามาพบหมอหญิง : “อิชั้นมาขอตรวจโรคหัวใจค่ะ”หมอ : “ทำไมคุณรู้ว่าคุณเป็นโรคหัวใจครับ”หญิง : “อิชั้นไปตรวจมาหลายแห่งแล้วค่ะ ครั้งสุดท้ายที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง หมอบอกว่าเป็นโรคหัวใจค่ะ และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย ”หมอ : ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
185
กันยายน 2537
เจ็บหัวใจ(ตอนที่ 1)ปัจจุบันโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (coronary atherosclerosis) ที่ทำให้เกิดอาการเจ็บหัวใจ(angina pectoris) และกล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial infarction) ได้มีการพบบ่อยขึ้นและมากขึ้นในเมืองไทยการพบบ่อยหรือพบมากขึ้นนี้ ส่วนหนึ่งเกิดจากการมีโรคนี้(อุบัติการของโรคนี้)เพิ่มขึ้น เนื่องจากคนไทยเราดำรงชีวิตแบบคนฝรั่งมากขึ้น เช่น กินอาหารไขมันเพิ่มขึ้น อ้วนขึ้น ออกกำลังกายน้อยลง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
ต้อ 4 จำพวก“คุณหมอครับ โรคต้อมีทั้งหมดกี่ชนิดด้วยกันครับ”คุณลุงเอ่ยขึ้น “ที่สงสัยก็เพราะว่าเมื่อเดือนก่อนลุงมีอาการตามัว ไปให้หมอตรวจ หมอบอกว่าเป็นโรคต้อกระจก แต่คุณป้าข้างบ้านผมเมื่อสัปดาห์ก่อนไปหาหมอด้วยอาการตามัวแบบผม หมอบอกว่าเป็นโรคต้อหิน โรคต้อทั้ง 2 ชนิดนี้เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรครับ”“แหม คุณลุงเล่นถามทีเดียวหลายข้อแบบนี้ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนจบ) ตามที่ผมได้เกริ่นไว้ในคราวที่แล้วว่า จดหมายที่เขียนมาถามปัญหาสุขภาพให้ผมนั้นเป็นจดหมายที่ตอบยาก เพราะเขียนเล่าข้อมูลมาไม่ละเอียด ตอบแล้วอาจจะผิดพลาดทำให้เป็นอันตรายต่อผู้ถามได้ ซึ่งผมจะขอยกตัวอย่างอีกเล็กน้อยนะครับปัญหาที่ ๓“บางครั้งเวลาอยู่เฉยๆจะรู้สึกเจ็บเหมือนมีวัตถุแหลมทิ่มแทงเนื้อภายในร่างกาย ซึ่งจะทำให้สูดลมหายใจได้ไม่เต็มที่และเจ็บมากด้วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
183
กรกฎาคม 2537
การตอบปัญหาสุขภาพ (ตอนที่ 1) ช่วงนี้มีปัญหาสุขภาพเข้ามามาก ปัญหาสุขภาพที่ถามมาทางจดหมายเป็นปัญหาที่ตอบยากแล้วอาจจะผิด ทำให้เป็นอันตรายได้เพราะประวัติหรือข้อมูลที่ให้มาทางจดหมายนั้น เป็นข้อมูลที่ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยคิดหรือเข้าใจเอาเอง ไม่มีการซักถามหรือสอบถามโดยคนตอบปัญหา เพื่อให้เข้าใจตรงกันกับผู้ป่วยหรือเพื่อให้ข้อมูลชัดเจนขึ้น นอกจากนั้น ยังไม่มีการตรวจร่างกายและการตรวจอื่นๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
ไขมันในเลือดสูงมีผู้ป่วยบางคนวิ่งมาหาหมอด้วยความตกใจซึ่งที่จริงไม่ใช่ผู้ป่วย เพราะไม่ได้เจ็บป่วยอะไร เพียงแต่อ้วนกว่าปกติไปสักหน่อย และก็กังวลเรื่องไปวัดไขมันในเลือด และพบว่าสูง 240240 หมายถึง 240 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี หรือ 100 มิลลิลิตร หรืออาจเรียกว่า 240 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ (240 มก.%) ซึ่งถ้าใช้หน่วยใหม่ที่สากลโลกเขาเปลี่ยนมาใช้กัน ก็จะประมาณ 6.2 มิลลิโมลต่อเลือด 1 ลิตร หรือ ...